วิชาของชาวแอตแลนติสนั้นนอกจากจะใช้คลื่นแสงและผลึกคริสตัลแล้ว ยังใช้คลื่นเสียงประกอบเหมือน ๆ กับ "มนตรา"ในวิชาละมะของธิเบต
หนึ่งในทั้งหมด 24 คลื่นเสียงที่ชาวแอตแลนติสใช้ในการฝึกพลัง คือคลื่นเสียงในลำดับที่ 24 ความเป็นดังนี้
AU-MA-LAA (โอเมลา)
เป็นเสียงที่ทรงพลังอย่างสุดหยั่ังคาด ใช้เพื่อป้องกันตัวเองจากสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง
อ้างอิง : สุวินัย ภรณ์วลัย สมาธิหมุน กรุงเทพฯ : บริษัทไอโอนิค อินเตอร์เทรดจำกัด, 2540.
วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
พลังคลื่นเสียงแห่งแอตแลนติส 1
วิชาของชาวแอตแลนติสนั้นนอกจากจะใช้คลื่นแสงและผลึกคริสตัลแล้ว ยังใช้คลื่นเสียงประกอบเหมือน ๆ กับ "มนตรา"ในวิชาละมะของธิเบต
หนึ่งในทั้งหมด 24 คลื่นเสียงที่ชาวแอตแลนติสใช้ในการฝึกพลัง คือคลื่นเสียงในลำดับที่ 15 ความเป็นดังนี้
SO-MAA-AH (โซเมอา)
ถ้าออกเสียงต่อเนื่อง เสียงนี้จะเหมาะเป็น "มนตรา" ที่สุดสำหรับปัจเจกชนที่มุ่งสัมผัสกับ "พระเจ้าภายในตัวเอง"(GOD-SELF)ของคนเรา เพราะเสียงนี้เป็นตัวแทนของความรู้ การรับรู้และการบรรลุ อีกทั้งยังเป็นเสียงแห่งจักรวาลอีกด้วย
อ้างอิง : สุวินัย ภรณ์วลัย สมาธิหมุน กรุงเทพฯ : บริษัทไอโอนิค อินเตอร์เทรดจำกัด, 2540.
หนึ่งในทั้งหมด 24 คลื่นเสียงที่ชาวแอตแลนติสใช้ในการฝึกพลัง คือคลื่นเสียงในลำดับที่ 15 ความเป็นดังนี้
SO-MAA-AH (โซเมอา)
ถ้าออกเสียงต่อเนื่อง เสียงนี้จะเหมาะเป็น "มนตรา" ที่สุดสำหรับปัจเจกชนที่มุ่งสัมผัสกับ "พระเจ้าภายในตัวเอง"(GOD-SELF)ของคนเรา เพราะเสียงนี้เป็นตัวแทนของความรู้ การรับรู้และการบรรลุ อีกทั้งยังเป็นเสียงแห่งจักรวาลอีกด้วย
อ้างอิง : สุวินัย ภรณ์วลัย สมาธิหมุน กรุงเทพฯ : บริษัทไอโอนิค อินเตอร์เทรดจำกัด, 2540.
วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2552
หลักการของเวทมนตร์
มนตร์ หรือ เวท แม้จะเป็นคำศักดิ์สิทธิ์แต่จะมีเดชมีอานุภาพขึ้นได้ต้องอาศัยการสวดหรือบริกรรมพร่ำบ่น กล่าวเกี่ยวกับพระปริตต์โดยเฉพาะท่านพระพุทธโฆสเถระกล่าวไว้่ว่า อานุภาพของพระปริตต์ทั้งหลายจะแผ่ไปกว้างขวางตลอดแสนโกฎิจักรวาฬ แผ่ไปได้อย่างไร? เทียบสิ่งที่เห็นได้ง่ายเช่น เมื่อเราขว้างหรือโยนก้อนดินหรือก้อนหินลงไปในสระน้ำ จะเห็นน้ำกระเพื่อมแผ่เป็นวงกว้างออกไป ๆ คลื่นในอากาศก็ทำนองเดียวกัน หากแต่ยังไม่สามารถเห็นได้ด้วยตา โดยเฉพาะคลื่นเสียง ถ้าเข้าใจกฎแห่งความสั่นสะเทือนอาจช่วยให้เราเข้าใจปัญหาเรื่องเดชหรืออานุภาพของมนตร์ทั้งหลายได้บ้าง ตามหลักวิทยาศาสตร์ ปรากฏว่า ชีวิตินทรีย์แต่ละประเภทย่อมมอัตราการสั่นสะเทือนของมันเอง แม้อนืนทรีย์วัตถุแต่ละชนิดตั้งแต่เม็ดทรายที่เป็นของเล็กขึ้นไปจนกระทั่งภูเขาลูกใหญ่ ๆ ตลอดจนดวงดาวนพเคราะห์และดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ แต่ละชนิดต่างมอัตราการสั่นเสทือนทั้งนั้น ความสั่นสะเทือนจะแผ่ไปกว้างแคบอย่างใดก็สุดแล้วแต่แรงกระทบหรือสัมผัส ถ้าพิจารณาเทียบกับทฤษฎีทางดนตรี อาจทำให้เห็นชัดเจนขึ้น เสียงดนตรีย่อมเกิดจากความสั่นเสทือนอันเกิดจากการกระทบหรือสัมผัสจะเป็นเสียง หนัก เบา ยาว สั้น สุดแต่อัตราการสั่นสะเทือน และถ้าจัดเสียงนั้น ๆ ให้ถูกโน้ตก็จะเกิดลำนำทำนองเพลงที่ไพเราะได้ตามต้องการ
นั่นเป็นเรื่องกฎแห่งความสั่นสะเทือน อันเกิดจากลมภายนอก แต่การเปล่งเสียงกล่าวมนตร์ทั้งหลายที่่บริกรรมพร่ำบ่น หรือสวดภาวนานั้นท่านอธิบายว่าเกิดจาก "ลมภายใน" ที่เรียกว่า "ปราณะวายุ" เป็นเสียงสั่นสะเทือนที่สำคัญ สามารถบันดาลให้มีเดช มีอานุภาพ ด้วยการพัฒนาทางจิตที่มีแรงกระทบ หรือสัมผัสเหนือสิ่งใดแล้วแผ่ขยายออกไป เช่น ที่พระพุทธโฆสะเถระกล่าวถึงอานุภาพพระปริตต์ข้างต้น เพราะท่านกล่าวว่า "ความรู้สึกนึกคิดทั้งหลายเป็นวัตถุ" จึงสามารถเกิดการกระทบ และทำให้เกิดความสั่นสะเทือนแผ่ขยายวงกว้างออกไป เพราะฉะนั้นเมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรัตนะปริตต์จบแต่ละคาถา ท่านพระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า อมนุษย์ทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาฬได้ยอมรับอาณาของคาถานั้น ๆ แต่มีหลักฐานอยู่ว่าการเปล่งเสียงกล่าวมนตร์ทั้งหลายที่นับว่าถูกต้องนั้น จะต้องมีความบริสุทธิ์สะอาดทางร่างกายของผู้บริกรรมและผู้สวดภาวนาตลอดจนผู้มีความรู้มนตร์นั้น ๆ โดยถูกต้องด้วย จึงมีความจำเป็นสำหรับผู้มีศรัทธาเลื่อมใสที่จะบริกรรมหรือสวดภาวนามนตร์ จะต้องชำระปากและลิ้นของตนให้บริสุทธิ์สะอาดเสียก่อนแล้วจึงเปล่งเสียงกล่าวมนตร์บทนั้น ๆ เป็นการให้ชีวิตชีวาแก่มนตร์หรือเป็นการปลุกอานุภาพที่หลับอยู่ของมนตร์บทนั้น ๆ เป็นกาารให้ชีวิตชีวาแก่มนตร์หรือเป็นการปลุกอานุภาพที่หลับอยู่ของมนต์บทนั้น ๆ ให้ตื่นตัวขึ้น
อ้างอิง : ธนิต อยู่โพธิ์ , อานุภาพพระปริตต์ โรงพิมพ์สุวรรณภูมิ กทม. 2537
นั่นเป็นเรื่องกฎแห่งความสั่นสะเทือน อันเกิดจากลมภายนอก แต่การเปล่งเสียงกล่าวมนตร์ทั้งหลายที่่บริกรรมพร่ำบ่น หรือสวดภาวนานั้นท่านอธิบายว่าเกิดจาก "ลมภายใน" ที่เรียกว่า "ปราณะวายุ" เป็นเสียงสั่นสะเทือนที่สำคัญ สามารถบันดาลให้มีเดช มีอานุภาพ ด้วยการพัฒนาทางจิตที่มีแรงกระทบ หรือสัมผัสเหนือสิ่งใดแล้วแผ่ขยายออกไป เช่น ที่พระพุทธโฆสะเถระกล่าวถึงอานุภาพพระปริตต์ข้างต้น เพราะท่านกล่าวว่า "ความรู้สึกนึกคิดทั้งหลายเป็นวัตถุ" จึงสามารถเกิดการกระทบ และทำให้เกิดความสั่นสะเทือนแผ่ขยายวงกว้างออกไป เพราะฉะนั้นเมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรัตนะปริตต์จบแต่ละคาถา ท่านพระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า อมนุษย์ทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาฬได้ยอมรับอาณาของคาถานั้น ๆ แต่มีหลักฐานอยู่ว่าการเปล่งเสียงกล่าวมนตร์ทั้งหลายที่นับว่าถูกต้องนั้น จะต้องมีความบริสุทธิ์สะอาดทางร่างกายของผู้บริกรรมและผู้สวดภาวนาตลอดจนผู้มีความรู้มนตร์นั้น ๆ โดยถูกต้องด้วย จึงมีความจำเป็นสำหรับผู้มีศรัทธาเลื่อมใสที่จะบริกรรมหรือสวดภาวนามนตร์ จะต้องชำระปากและลิ้นของตนให้บริสุทธิ์สะอาดเสียก่อนแล้วจึงเปล่งเสียงกล่าวมนตร์บทนั้น ๆ เป็นการให้ชีวิตชีวาแก่มนตร์หรือเป็นการปลุกอานุภาพที่หลับอยู่ของมนตร์บทนั้น ๆ เป็นกาารให้ชีวิตชีวาแก่มนตร์หรือเป็นการปลุกอานุภาพที่หลับอยู่ของมนต์บทนั้น ๆ ให้ตื่นตัวขึ้น
อ้างอิง : ธนิต อยู่โพธิ์ , อานุภาพพระปริตต์ โรงพิมพ์สุวรรณภูมิ กทม. 2537
การใช้มนต์คาถา
เกี่ยวกับเรื่องใช้มนต์คาถานั้น พระราชครูวามเทพมุนี หัวหน้าคณะพราหมณ์หลวง สำนักงานราชวัง และหัวหน้าคณะพราหมณ์ โบสถ์เทวสถาน บอกว่า เวทมนต์คาถาเป็นตัวสื่อทำให้เกิดสมาธิ เมื่อเกิดสมาธิจิตก็ไม่ฟุ่งซ่าน การรู้คาถา และท่องคาถา ได้อย่างเดียวไม่พอ ต้องมีสมาธิและศีลธรรมกำกับ คาถา นั้นๆ จึงสัมฤทธิ์มรรคผล แต่คนในปัจจุบันคิดว่า การรู้คาถา และท่องคาถา ได้เท่านั้น ก็สามารถผูกใจเพศตรงข้ามได้ โดยเฉพาะคาถา ที่เกี่ยวกับความรัก ความเมตตา คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่า สามารถทำให้เพศตรงข้ามมาสนใจได้ แต่แท้ที่จริงแล้ว คาถา ไม่สามารถบังคับจิตใจเพศตรงข้ามได้ กลับเป็นการบังคับฝ่ายผู้ที่ใช้คาถา ให้เป็นไปตามคาถา บทนั้นๆ ที่สำคัญ คือ หากนำไปใช้ในด้านกามารมณ์ และผิดศีลธรรม นอกจากไม่เป็นมรรคผลแล้ว ยังเป็นการสร้างบาปให้เกิดกับผู้ใช้คาถา ด้วย
ด้าน อ.โสภณ พัฒน์ชัยชนะ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องอักขระเลขยันต์ บอกว่า ในคำปรารภของ อาจารย์เทพย์ สาริกบุตร ผู้ชำนาญทางไสยศาสตร์ เวทมนต์คาถาและโหราศาสตร์ คนสำคัญของไทย ได้เขียนไว้ในทุกๆ ครั้งที่พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับเวทมนต์คาถาต่างๆ คือ ในการใช้เวทมนต์คาถานั้น ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นได้นั้น ก็อยู่ที่ “ดวงจิต” สำรวมเป็นสมาธิ และสมาธินี้ท่านจัดเป็นบาทฐานแห่งวิปัสสนาญาณ ถึงหากว่า ปุถุชนเราจะบรรลุได้อย่างสูง ไม่เกินขั้นฌานสมาบัติก็ตาม ถึงกระนั้นก็สามารถที่จะแสดงอิทธิฤทธิ์ได้ ตามภูมิของตน ดังเช่น พระเทวทัต หนแรกที่เธอได้รูปฌาน เธอยังสามารถบิดเบือนแปลงกาย กระทำอวดให้อชาตศัตรูกุมาร หลงใหลเลื่อมใสได้
"คาถา ใด ๆ ก็ตาม ถ้าหากว่าเราจะต้องท่องเวทมนต์ให้จำได้ ก็จะต้องทำใจให้บริสุทธิ์ อาบน้ำชำระล้างสิ่งโสโครกให้สะอาดเสียก่อน แล้วก็นำดอกไม้ธูปเทียนบูชาพระ แล้วก็ระลึกเป็นการขอพรบารมี ให้ท่องเวทมนต์ได้ง่ายจำได้แม่น เมื่อจะท่องหรือจะใช้พระคาถา ใดๆ ทุกๆ พระคาถา จะต้องตั้งนะโม ๓ จบก่อน การใช้เวทมนต์คาถานั้น ผลสำเร็จ จะเกิดขึ้นได้ก็อยู่ที่ดวงจิตสำรวมเป็นสมาธิ ที่ใช้คาถาบริกรรมนั้น ผู้บริกรรม จะรู้ถึงเนื้อความของคาถาที่บริกรรมนั้น หรือไม่ก็ตาม นั่นมิใช่สิ่ง ที่เป็นปัญหาที่สำคัญ เพราะความมุ่งหมายต้องการแต่จะให้สมาธิเท่านั้น" ลองสังเกตว่า คำพูดของคนไทยเรา แต่ละจังหวัดเหมือนกันหรือเปล่า ภาคเหนือ กลาง ใต้ อีสาน สำเนียงภาษาก็ต่างกัน บทสวดมนต์ เวทมนต์ต่างๆ สำเนียงภาษาก็ต่างกัน บางอย่างผิดเพี้ยนต่างกันไปเลย แต่ทำไมยังคงมีความศักดิ์สิทธิ์และเห็นผล แต่ความสำคัญอยู่ที่ “ดวงจิต” สำรวมเป็นสมาธิ
ด้าน อ.โสภณ พัฒน์ชัยชนะ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องอักขระเลขยันต์ บอกว่า ในคำปรารภของ อาจารย์เทพย์ สาริกบุตร ผู้ชำนาญทางไสยศาสตร์ เวทมนต์คาถาและโหราศาสตร์ คนสำคัญของไทย ได้เขียนไว้ในทุกๆ ครั้งที่พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับเวทมนต์คาถาต่างๆ คือ ในการใช้เวทมนต์คาถานั้น ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นได้นั้น ก็อยู่ที่ “ดวงจิต” สำรวมเป็นสมาธิ และสมาธินี้ท่านจัดเป็นบาทฐานแห่งวิปัสสนาญาณ ถึงหากว่า ปุถุชนเราจะบรรลุได้อย่างสูง ไม่เกินขั้นฌานสมาบัติก็ตาม ถึงกระนั้นก็สามารถที่จะแสดงอิทธิฤทธิ์ได้ ตามภูมิของตน ดังเช่น พระเทวทัต หนแรกที่เธอได้รูปฌาน เธอยังสามารถบิดเบือนแปลงกาย กระทำอวดให้อชาตศัตรูกุมาร หลงใหลเลื่อมใสได้
"คาถา ใด ๆ ก็ตาม ถ้าหากว่าเราจะต้องท่องเวทมนต์ให้จำได้ ก็จะต้องทำใจให้บริสุทธิ์ อาบน้ำชำระล้างสิ่งโสโครกให้สะอาดเสียก่อน แล้วก็นำดอกไม้ธูปเทียนบูชาพระ แล้วก็ระลึกเป็นการขอพรบารมี ให้ท่องเวทมนต์ได้ง่ายจำได้แม่น เมื่อจะท่องหรือจะใช้พระคาถา ใดๆ ทุกๆ พระคาถา จะต้องตั้งนะโม ๓ จบก่อน การใช้เวทมนต์คาถานั้น ผลสำเร็จ จะเกิดขึ้นได้ก็อยู่ที่ดวงจิตสำรวมเป็นสมาธิ ที่ใช้คาถาบริกรรมนั้น ผู้บริกรรม จะรู้ถึงเนื้อความของคาถาที่บริกรรมนั้น หรือไม่ก็ตาม นั่นมิใช่สิ่ง ที่เป็นปัญหาที่สำคัญ เพราะความมุ่งหมายต้องการแต่จะให้สมาธิเท่านั้น" ลองสังเกตว่า คำพูดของคนไทยเรา แต่ละจังหวัดเหมือนกันหรือเปล่า ภาคเหนือ กลาง ใต้ อีสาน สำเนียงภาษาก็ต่างกัน บทสวดมนต์ เวทมนต์ต่างๆ สำเนียงภาษาก็ต่างกัน บางอย่างผิดเพี้ยนต่างกันไปเลย แต่ทำไมยังคงมีความศักดิ์สิทธิ์และเห็นผล แต่ความสำคัญอยู่ที่ “ดวงจิต” สำรวมเป็นสมาธิ
วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2552
คาถาสวดห้ามดาวบาปเคราะห์
คาถาสวดห้ามบาปเคราะห์
นักขัตะยัก ขะภูตานัง ปาปัคคะหะ นิวาระณา ปะริตตัสสา นุภาเวนะ หันตะวา เตสัง อุปัททะเว
คาถาสวดห้ามบาปเคราะห์ บทนี้เป็นข้อห้ามบาปเคราะห์ อันเกิดด้วยอำนาจของดาวนักษัตร ยักษ์มาร ภูติผีปีศาจทั้งหลาย ด้วยอานุภาพของ พระคาถาสวดห้ามบาปเคราะห์ บทนี้ ซึ่งจะช่วยขจัดอุปัทวะทั้งหลายที่จะเกิดมี ให้ห่างหายออกไป ด้วยบารมีของพระคาถาบทนี้
นักขัตะยัก ขะภูตานัง ปาปัคคะหะ นิวาระณา ปะริตตัสสา นุภาเวนะ หันตะวา เตสัง อุปัททะเว
คาถาสวดห้ามบาปเคราะห์ บทนี้เป็นข้อห้ามบาปเคราะห์ อันเกิดด้วยอำนาจของดาวนักษัตร ยักษ์มาร ภูติผีปีศาจทั้งหลาย ด้วยอานุภาพของ พระคาถาสวดห้ามบาปเคราะห์ บทนี้ ซึ่งจะช่วยขจัดอุปัทวะทั้งหลายที่จะเกิดมี ให้ห่างหายออกไป ด้วยบารมีของพระคาถาบทนี้
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ป้องภัยพิบัติเมื่อโดยสารยวดยาน
คาถาหลวงปู่ศุข
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะอะอุ
ขึ้นรถ ลงเรือ ขึ้นเครื่องบิน ท่องเสมอ ป้องกันภัยพิบัติ ฯ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะอะอุ
ขึ้นรถ ลงเรือ ขึ้นเครื่องบิน ท่องเสมอ ป้องกันภัยพิบัติ ฯ
วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552
มหาพุทธมนต์นัมเมียวฯ
นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว (Num myo ho renge kyo)
คือคำสวดภาวนาในศาสนาพุทธนิกาย นิชิเรนทุกแขนง ประสมขึ้นจากคำว่านามู+ชื่อของสัทธรรมปุณฑริกสูตรในภาษาญี่ปุ่น พระนิชิเรนไดโชนินเป็นผู้เริ่มต้นเผยแผ่คำสวดนี้ แปลเป็นไทยว่า ขอนอบน้อมอุทิศชีวิตแด่สัทธรรมปุณฑริกสูตร เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ไดโมขุ (ธรรมสารัตถ) ทั้งนี้นิกายนิชิเรนจะมองคำว่า เมียวโฮเร็งเงเคียวนั้นมีความหมายลึกซึ้งมากกว่าเป็นเพียงชี่อของพระสูตร
สานุศิษย์ในนิกายจะท่องสวดพระสูตรและธรรมสารัตถนี้ทุกเช้าค่ำเป็นหลักปฏิบัติพื้นฐาน โดยเชื่อว่าคือวิธีหนึ่งเดียวในการปลุกธรรมชาติพุทธะที่มีอยู่ในตนให้ตื่นขึ้น และเป็นการชำระอายตนะทั้ง 6 ให้สะอาดบริสุทธ์ เพื่อจุดหมายในการบรรลุพุทธภาวะในรูปกายปัจจุบัน
คือคำสวดภาวนาในศาสนาพุทธนิกาย นิชิเรนทุกแขนง ประสมขึ้นจากคำว่านามู+ชื่อของสัทธรรมปุณฑริกสูตรในภาษาญี่ปุ่น พระนิชิเรนไดโชนินเป็นผู้เริ่มต้นเผยแผ่คำสวดนี้ แปลเป็นไทยว่า ขอนอบน้อมอุทิศชีวิตแด่สัทธรรมปุณฑริกสูตร เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ไดโมขุ (ธรรมสารัตถ) ทั้งนี้นิกายนิชิเรนจะมองคำว่า เมียวโฮเร็งเงเคียวนั้นมีความหมายลึกซึ้งมากกว่าเป็นเพียงชี่อของพระสูตร
สานุศิษย์ในนิกายจะท่องสวดพระสูตรและธรรมสารัตถนี้ทุกเช้าค่ำเป็นหลักปฏิบัติพื้นฐาน โดยเชื่อว่าคือวิธีหนึ่งเดียวในการปลุกธรรมชาติพุทธะที่มีอยู่ในตนให้ตื่นขึ้น และเป็นการชำระอายตนะทั้ง 6 ให้สะอาดบริสุทธ์ เพื่อจุดหมายในการบรรลุพุทธภาวะในรูปกายปัจจุบัน
คุรุ รินโปเช บทสวด "โอมวัชระคุรุฯ"
จากส่วนลึกของจิตของเธอ สวดมนต์แห่ง คุรุ รินโปเช ในรูปแบบใดรูป
แบบหนึ่งต่อไปนี้
ในสันสกฤตแบบทิเบต
โอม อา หุง เบดซาร์ คุรุ เปมะ สิทธิ หุง
ในภาษาสันสกฤต
โอม อา หุม วัชร คุรุ ปัทมะ สิทธิ หุม
คำแปลของมนต์ คือ " รูปร่างตัวตนของกาย วาจา และใจของพุทธะ
โอ ปัทมะ ( สัมภวะ ) โปรดจงประทานพรทั้งหลาย "
เหมือนผลของผู้สวดและความปลอดโปร่ง ลำแสงแห่งพรอันหลากสี
จาก คุรุ รินโปเช สัมผัสกับเธอนำความอบอุ่นและความปลอดโปร่ง
เข้าสู่กายและจิต แสงเหล่านี้ไม่เพียงมีรูปสวยงามและบริสุทธิ์ แต่เป็น
พลังแห่งความสงบ อบอุ่น ความสุขสบายและปลอดโปร่งปล่อยให้
ความรู้สึกนี้แผ่ซ่านในตัวเธอทั่วทุกขุมขนและทวาร ปัดเป่าความกังวล
และความทุกข์โศกทั้งหมดไปเหมือนแสงอาทิตย์ขจัดความมืด รู้สึกว่า
ร่างกายทั้งหมดของเธอเปลี่ยนไปเป็นแสงและพลังแห่งการเยียยา
ท่องมนต์ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ปล่อยให้ตัวเธอทั้งหมดจดจ่อกับเสียงจินตนา
การว่าการสวดของเธอ ได้เปิดจิตของสรรพชีวิตทั้งหมดสู่ความเบิกบาน
อันน่าเลื่อมใสและแสงจาก คุรุ รินโปเช แผ่ไปทุกทิศทาง ขจัดความยุ่ง
ยาก ความเศร้า ความเจ็บปวดทั้งหมด สรรพชีวิตทั้งหมดได้รับอิสระใน
การสวดมนต์ประสานเสียงอันทรงอำนาจ การสวดมนต์เติมเต็มจักรวาล
ซึ่งกลายเป็นหนึ่งเสียง แสง และความเบิกบาน
รู้สึกเบิกบานในความอบอุ่นและความปลอดโปร่งนี้ ปล่อยให้ความคิด
และความรู้สึกทั้งหมดกลมกลืนไปกับมหาสมุทรแห่งความสงบ อันน่า
เลื่อมใสในที่ซึ่งไม่มีความแตกต่างและขอบเขต อยู่เหนือความเจ็บปวด
และความตื่นเต้น ความดีและความชั่ว สิ่งนี้หรือสิ่งนั้น เธอหรือฉัน
แต่เป็นทั้งหมดเป็นหนึ่งเดียวกัน
แม้ว่าจุดหมายที่สูงกว่าของการปฏิบัติสมาธินี้ คือ การรู้แจ้งทางจิตเธอ
อาจเพ่งจิตไปยังคุรุสัมภวะเหมือนบ่อเกิดของพลัง เพื่อการเยียวยาตาม
ปกติของปัญหาทางอารมณ์และทางกาย โดยการสร้างนิมิตในรูปแห่ง
พลังเยียวยาส่องแสงออกมาจากภาพนิมิต เหมือนเช่นแสงเลเซอร์ หรือ
จินตนาการน้ำทิพย์โอสถจากแจกันของคุรุ รินโปเช กำลังไหลชะโลม
ตัวเธอ อันดับแรก ชำระล้างความทุกข์ทางใจ อารมณ์และทางกายของ
เธอจนหมดสิ้น จากนั้นเติมกายและจิตทั้งหมดของเธอด้วยความสงบ
และความเข้มแข็ง คุรุ รินโปเช สามารถเป็นบ่อเกิดของพลังระหว่าง
การปฏิบัติสมาธิในบุคคลอื่นแต่ละคน กระทำเหมือนผู้เยียวยาสำหรับ
เธอ
การสร้างนิมิตใด ๆ ก็ตาม เธอสามารถทำซ้ำระหว่างการนั่งสมาธิ
บ่อยเท่าที่เธอรู้สึกสบายอยู่
เมื่อเธอกำลังทำงานประจำวัน สามารถนำเอาความรู้สึกปลอดโปร่ง
ของการปฏิบัติสมาธิสู่ชีวิตของเธอได้บ่อย ๆ เธอสามารถสวดมนต์
เสียงดังหรือสวดในใจเมื่อเธออยู่ในที่ชุมชน
แบบหนึ่งต่อไปนี้
ในสันสกฤตแบบทิเบต
โอม อา หุง เบดซาร์ คุรุ เปมะ สิทธิ หุง
ในภาษาสันสกฤต
โอม อา หุม วัชร คุรุ ปัทมะ สิทธิ หุม
คำแปลของมนต์ คือ " รูปร่างตัวตนของกาย วาจา และใจของพุทธะ
โอ ปัทมะ ( สัมภวะ ) โปรดจงประทานพรทั้งหลาย "
เหมือนผลของผู้สวดและความปลอดโปร่ง ลำแสงแห่งพรอันหลากสี
จาก คุรุ รินโปเช สัมผัสกับเธอนำความอบอุ่นและความปลอดโปร่ง
เข้าสู่กายและจิต แสงเหล่านี้ไม่เพียงมีรูปสวยงามและบริสุทธิ์ แต่เป็น
พลังแห่งความสงบ อบอุ่น ความสุขสบายและปลอดโปร่งปล่อยให้
ความรู้สึกนี้แผ่ซ่านในตัวเธอทั่วทุกขุมขนและทวาร ปัดเป่าความกังวล
และความทุกข์โศกทั้งหมดไปเหมือนแสงอาทิตย์ขจัดความมืด รู้สึกว่า
ร่างกายทั้งหมดของเธอเปลี่ยนไปเป็นแสงและพลังแห่งการเยียยา
ท่องมนต์ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ปล่อยให้ตัวเธอทั้งหมดจดจ่อกับเสียงจินตนา
การว่าการสวดของเธอ ได้เปิดจิตของสรรพชีวิตทั้งหมดสู่ความเบิกบาน
อันน่าเลื่อมใสและแสงจาก คุรุ รินโปเช แผ่ไปทุกทิศทาง ขจัดความยุ่ง
ยาก ความเศร้า ความเจ็บปวดทั้งหมด สรรพชีวิตทั้งหมดได้รับอิสระใน
การสวดมนต์ประสานเสียงอันทรงอำนาจ การสวดมนต์เติมเต็มจักรวาล
ซึ่งกลายเป็นหนึ่งเสียง แสง และความเบิกบาน
รู้สึกเบิกบานในความอบอุ่นและความปลอดโปร่งนี้ ปล่อยให้ความคิด
และความรู้สึกทั้งหมดกลมกลืนไปกับมหาสมุทรแห่งความสงบ อันน่า
เลื่อมใสในที่ซึ่งไม่มีความแตกต่างและขอบเขต อยู่เหนือความเจ็บปวด
และความตื่นเต้น ความดีและความชั่ว สิ่งนี้หรือสิ่งนั้น เธอหรือฉัน
แต่เป็นทั้งหมดเป็นหนึ่งเดียวกัน
แม้ว่าจุดหมายที่สูงกว่าของการปฏิบัติสมาธินี้ คือ การรู้แจ้งทางจิตเธอ
อาจเพ่งจิตไปยังคุรุสัมภวะเหมือนบ่อเกิดของพลัง เพื่อการเยียวยาตาม
ปกติของปัญหาทางอารมณ์และทางกาย โดยการสร้างนิมิตในรูปแห่ง
พลังเยียวยาส่องแสงออกมาจากภาพนิมิต เหมือนเช่นแสงเลเซอร์ หรือ
จินตนาการน้ำทิพย์โอสถจากแจกันของคุรุ รินโปเช กำลังไหลชะโลม
ตัวเธอ อันดับแรก ชำระล้างความทุกข์ทางใจ อารมณ์และทางกายของ
เธอจนหมดสิ้น จากนั้นเติมกายและจิตทั้งหมดของเธอด้วยความสงบ
และความเข้มแข็ง คุรุ รินโปเช สามารถเป็นบ่อเกิดของพลังระหว่าง
การปฏิบัติสมาธิในบุคคลอื่นแต่ละคน กระทำเหมือนผู้เยียวยาสำหรับ
เธอ
การสร้างนิมิตใด ๆ ก็ตาม เธอสามารถทำซ้ำระหว่างการนั่งสมาธิ
บ่อยเท่าที่เธอรู้สึกสบายอยู่
เมื่อเธอกำลังทำงานประจำวัน สามารถนำเอาความรู้สึกปลอดโปร่ง
ของการปฏิบัติสมาธิสู่ชีวิตของเธอได้บ่อย ๆ เธอสามารถสวดมนต์
เสียงดังหรือสวดในใจเมื่อเธออยู่ในที่ชุมชน
มนต์ภาวนา ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร
อานิสงส์ที่จากการสวดมนต์ภาวนา ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร
1.เพื่อเพิ่มพูนสติปํญญาให้สามารถเห็นแจ้งในธรรมะ
2.เพื่อการบรรลุภาวะการเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรม
3.เพื่อการตรัสรู้และการบรรลุนิพพานโลกธาตุในที่สุด
สำหรับผู้ที่มีเวลาน้อย เดินทางเสี่ยงต่ออันตราย หรือ เผชิญภาวะฉุกเฉิน
และ ต้องการตั้งสติขจัดความตื่นกลัวออกไปโดยเร็ว ควรบริกรรม โดยใช้บทสวดมนต์ย่อว่า
"คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิสวาหา"
ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ท่านหลวงจีนเฮียงจั๋ง (พระถังซำจั๋ง) ท่านกล่าวว่า
ท่านสวดบทนี้เมื่อท่านอยู่ในภาวะคับขันในการเดินทางข้ามทะเลทราย
ท่านเชื่อว่าทำให้มีสติตั้งมั่น เกิดปํญญา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง
1.เพื่อเพิ่มพูนสติปํญญาให้สามารถเห็นแจ้งในธรรมะ
2.เพื่อการบรรลุภาวะการเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรม
3.เพื่อการตรัสรู้และการบรรลุนิพพานโลกธาตุในที่สุด
สำหรับผู้ที่มีเวลาน้อย เดินทางเสี่ยงต่ออันตราย หรือ เผชิญภาวะฉุกเฉิน
และ ต้องการตั้งสติขจัดความตื่นกลัวออกไปโดยเร็ว ควรบริกรรม โดยใช้บทสวดมนต์ย่อว่า
"คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิสวาหา"
ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ท่านหลวงจีนเฮียงจั๋ง (พระถังซำจั๋ง) ท่านกล่าวว่า
ท่านสวดบทนี้เมื่อท่านอยู่ในภาวะคับขันในการเดินทางข้ามทะเลทราย
ท่านเชื่อว่าทำให้มีสติตั้งมั่น เกิดปํญญา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง
หัวใจพระแม่กวนอิมฯ
โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง
คาถา " โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " นี้ใช้สวดได้ในทุกอิริยาบถ ทุกเวลา ถ้ายิ่งสวดได้มากยิ่งเป็นการดี การสวดครั้งหนึ่งผู้ปฎิบัติควรท่องสวดด้วยจิตน้อมถึงพระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ( อวโลกิเตศวร ) จึงเป็นบุญเป็นผลอย่างอเนกอนันต์ เวลาสวดอย่ารีบร้อน โดยใช้วิธีนับประคำ 108 เม็ด สวด 1 จบ นับ 1 เม็ด สวดครบ 108 จบ ให้ขีดฆ่า 1 วงกลม เมื่อสวดจนครบหมดทุกวงกลมแล้ว ให้พิมพ์หนังสือธรรมะและบทสวดมนต์ในเวบนี้แจกเป็นธรรมทาน จำนวนมากกว่าอายุของผู้สวด หรือ 108 เล่ม หรือมากกว่านั้นได้ยิ่งดี เพื่อเป็นการเสริมบารมีดวงชะตาราศีให้ผู้สวดอายุยืนยาว เป็นมงคลแก่ชีวิตเป็นอย่างยิ่ง
คาถา " โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " ในภาษาจีน หรือ " โอม มา นี ปัท เม หุม " ในภาษาสันสกฤต เป็นคาถาอันศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวพุทธมหายานทั้งหลายไม่ว่าจะในประเทศอินเดีย ธิเบต จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน เป็นต้น ต่างทราบกันดีว่าเป็นคาถาหัวใจของพระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ( อวโลกิเตศวร )
มูลเหตุแห่งพระคาถาบทนี้มีว่า ในครั้งอดีตอันยาวนาน ขณะที่พระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร กำลังเข้าสมาธิบำเพ็ญบารมีอยู่นั้น หมู่มารได้มาราวีรังควาน แต่ด้วยพระมหาเมตตากรุณาอันยิ่งใหญ่ไพศาลของพระองค์ จึงมิได้ตอบโต้แต่ประการใด หมู่มารเห็นเช่นนั้น ก็ได้ใจยิ่งราวีหนักขึ้น จนในที่สุด พระองค์ได้ทรงเปล่งพระวาจาออกมาสั้นๆเพียง 6 คำ แต่เปี่ยมล้นด้วยบุญญาภิหาร อันยิ่งใหญ่ไพศาลมิอาจเปรียบประมาณได้ ซึ่งก่อกำเนิดมาจากก้นบึ้งแห่งดวงจิตที่ได้บำเพ็ญสั่งสมบุญบารมีมานานนับภพนับชาติไม่ถ้วนยิ่งกว่าเม็ดทรายในมหานทีคงคา ว่า " โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " ซึ่งด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ของพระคาถาบทนี้เอง ทำให้หมู่มารทั้งหลายต่างขวัญหนีแตกกระเจิงไปสิ้น อีกทั้งเหล่าทวยเทพยดาบนชั้นฟ้าต่างต้องสะดุ้งลุกขึ้นมาโมทนาโดยทั่วถ้วน
" โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " นี้คือ มนีแห่งดอกบัวหรือหัวใจที่เบิกบาน ใจที่สะอาด สว่าง หลุดพ้นจากเครื่องพันธนาการ คือ กิเลสที่ร้อยรัดให้เศร้าหมอง มนีนี้คือใจของเรา ดอกบัวคืออาสนะอันบริสุทธิ์ ดังนั้น ผู้ที่ภาวนาพระคาถานี้อยู่เนืองๆ ย่อมเป็นผู้ที่มีแก้วสารพัดนึกที่จะเป็นอาสนะอันวิเศษ ซึ่งจะนำพาให้ไปถึงนิพพานโลกธาตุได้ในที่สุด
คาถาหัวใจพระแม่กวนอิมฯ นี้ คนจีนเรียกว่า " หลัก ยี่ ไต่ เหม่ง อ้วง จิ่ว " ทุกอักษรในคาถาเป็นทางแห่งปัญญาอันสว่างไสว มีความศักดิ์สิทธิ์ ทรงพลานุภาพมหาศาล เพียงพอที่จะหยุดยั้งวงแห่งกรรม ได้ปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัย ดังนั้น สาธุชนผู้ใดพร่ำภาวนาอยู่เสมอย่อมอยู่อย่างเป็นสุข หมู่มารมิอาจกล้ำกราย บุญบารมีอันยิ่งใหญ่ของพระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ( อวโลกิเตศวร ) ย่อมคุ้มครองและเสริมบารมีให้ผู้สวดประสบความสุข ความเจริญยิ่งๆขึ้นไป ประกอบกิจการงาน การค้าใด ก็ย่อมเจริญรุ่งเรืองไพบูลย์ เสมือนดังเพชรมณีอันล้ำค่าย่อมประทานความมั่งคั่งสมบูรณ์ ความสุขสมหวังสมปรารถนาแก่ผู้ภาวนาในทุกสิ่งที่ตั้งจิตอธิษฐาน แม้ภาวนาเพียง 1 จบก็มีอานิสงส์มากมาย
คาถา " โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " นี้ใช้สวดได้ในทุกอิริยาบถ ทุกเวลา ถ้ายิ่งสวดได้มากยิ่งเป็นการดี การสวดครั้งหนึ่งผู้ปฎิบัติควรท่องสวดด้วยจิตน้อมถึงพระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ( อวโลกิเตศวร ) จึงเป็นบุญเป็นผลอย่างอเนกอนันต์ เวลาสวดอย่ารีบร้อน โดยใช้วิธีนับประคำ 108 เม็ด สวด 1 จบ นับ 1 เม็ด สวดครบ 108 จบ ให้ขีดฆ่า 1 วงกลม เมื่อสวดจนครบหมดทุกวงกลมแล้ว ให้พิมพ์หนังสือธรรมะและบทสวดมนต์ในเวบนี้แจกเป็นธรรมทาน จำนวนมากกว่าอายุของผู้สวด หรือ 108 เล่ม หรือมากกว่านั้นได้ยิ่งดี เพื่อเป็นการเสริมบารมีดวงชะตาราศีให้ผู้สวดอายุยืนยาว เป็นมงคลแก่ชีวิตเป็นอย่างยิ่ง
คาถา " โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " ในภาษาจีน หรือ " โอม มา นี ปัท เม หุม " ในภาษาสันสกฤต เป็นคาถาอันศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวพุทธมหายานทั้งหลายไม่ว่าจะในประเทศอินเดีย ธิเบต จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน เป็นต้น ต่างทราบกันดีว่าเป็นคาถาหัวใจของพระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ( อวโลกิเตศวร )
มูลเหตุแห่งพระคาถาบทนี้มีว่า ในครั้งอดีตอันยาวนาน ขณะที่พระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร กำลังเข้าสมาธิบำเพ็ญบารมีอยู่นั้น หมู่มารได้มาราวีรังควาน แต่ด้วยพระมหาเมตตากรุณาอันยิ่งใหญ่ไพศาลของพระองค์ จึงมิได้ตอบโต้แต่ประการใด หมู่มารเห็นเช่นนั้น ก็ได้ใจยิ่งราวีหนักขึ้น จนในที่สุด พระองค์ได้ทรงเปล่งพระวาจาออกมาสั้นๆเพียง 6 คำ แต่เปี่ยมล้นด้วยบุญญาภิหาร อันยิ่งใหญ่ไพศาลมิอาจเปรียบประมาณได้ ซึ่งก่อกำเนิดมาจากก้นบึ้งแห่งดวงจิตที่ได้บำเพ็ญสั่งสมบุญบารมีมานานนับภพนับชาติไม่ถ้วนยิ่งกว่าเม็ดทรายในมหานทีคงคา ว่า " โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " ซึ่งด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ของพระคาถาบทนี้เอง ทำให้หมู่มารทั้งหลายต่างขวัญหนีแตกกระเจิงไปสิ้น อีกทั้งเหล่าทวยเทพยดาบนชั้นฟ้าต่างต้องสะดุ้งลุกขึ้นมาโมทนาโดยทั่วถ้วน
" โอม มา นี แปะ หมี่ ฮง " นี้คือ มนีแห่งดอกบัวหรือหัวใจที่เบิกบาน ใจที่สะอาด สว่าง หลุดพ้นจากเครื่องพันธนาการ คือ กิเลสที่ร้อยรัดให้เศร้าหมอง มนีนี้คือใจของเรา ดอกบัวคืออาสนะอันบริสุทธิ์ ดังนั้น ผู้ที่ภาวนาพระคาถานี้อยู่เนืองๆ ย่อมเป็นผู้ที่มีแก้วสารพัดนึกที่จะเป็นอาสนะอันวิเศษ ซึ่งจะนำพาให้ไปถึงนิพพานโลกธาตุได้ในที่สุด
คาถาหัวใจพระแม่กวนอิมฯ นี้ คนจีนเรียกว่า " หลัก ยี่ ไต่ เหม่ง อ้วง จิ่ว " ทุกอักษรในคาถาเป็นทางแห่งปัญญาอันสว่างไสว มีความศักดิ์สิทธิ์ ทรงพลานุภาพมหาศาล เพียงพอที่จะหยุดยั้งวงแห่งกรรม ได้ปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัย ดังนั้น สาธุชนผู้ใดพร่ำภาวนาอยู่เสมอย่อมอยู่อย่างเป็นสุข หมู่มารมิอาจกล้ำกราย บุญบารมีอันยิ่งใหญ่ของพระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ( อวโลกิเตศวร ) ย่อมคุ้มครองและเสริมบารมีให้ผู้สวดประสบความสุข ความเจริญยิ่งๆขึ้นไป ประกอบกิจการงาน การค้าใด ก็ย่อมเจริญรุ่งเรืองไพบูลย์ เสมือนดังเพชรมณีอันล้ำค่าย่อมประทานความมั่งคั่งสมบูรณ์ ความสุขสมหวังสมปรารถนาแก่ผู้ภาวนาในทุกสิ่งที่ตั้งจิตอธิษฐาน แม้ภาวนาเพียง 1 จบก็มีอานิสงส์มากมาย
คาถาหัวใจพระยาเต่าเรือน (เมื่อต้องคดีความ)
คาถาหัวใจพระยาเต่าเรือน
“นาสังสิโม สังสิโมนา สิโมนาสัง โมนาสังสิ”
ให้ ไว้สำหรับผู้ที่มีความเดือดร้อนคดีความ ต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ยิ่งถ้าไม่ผิดด้วยแล้ว ก็จะสามารถกลับร้ายกลายเป็นดี ถ้าผิด ก็จะผ่อนหนักให้เป็นเบา คาถานี้มีว่า
ผู้ใดหมั่นภาวนาสวดมนต์ทุกวัน ด้วยคาถานี้ อย่างน้อยวันละ ๓ หรือ ๙ จบ ท่านว่า ผู้นั้นจะเป็นผู้ที่โชคดี มีลาภผลไม่ขาดแคลน เป็นเสน่ห์เมตตามหานิยมแก่คนทั่วไป หากขึ้นโรงขึ้นศาลหรือมีคดีความ ให้ภาวนาไว้ตลอดเวลา ยิ่งมียันต์พระยาเต่าเรือนติดตัวอยู่ด้วยแล้ว จะทำให้สัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น
“นาสังสิโม สังสิโมนา สิโมนาสัง โมนาสังสิ”
ให้ ไว้สำหรับผู้ที่มีความเดือดร้อนคดีความ ต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ยิ่งถ้าไม่ผิดด้วยแล้ว ก็จะสามารถกลับร้ายกลายเป็นดี ถ้าผิด ก็จะผ่อนหนักให้เป็นเบา คาถานี้มีว่า
ผู้ใดหมั่นภาวนาสวดมนต์ทุกวัน ด้วยคาถานี้ อย่างน้อยวันละ ๓ หรือ ๙ จบ ท่านว่า ผู้นั้นจะเป็นผู้ที่โชคดี มีลาภผลไม่ขาดแคลน เป็นเสน่ห์เมตตามหานิยมแก่คนทั่วไป หากขึ้นโรงขึ้นศาลหรือมีคดีความ ให้ภาวนาไว้ตลอดเวลา ยิ่งมียันต์พระยาเต่าเรือนติดตัวอยู่ด้วยแล้ว จะทำให้สัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น
คาถา หัวใจสุนัข
คาถา หัวใจสุนัข
อิ มา อา กิ
คาถา หัวใจสุนัข คาถาบทนี้ ภาวนาเวลาผ่านบ้านที่มีสุนัข หมาดุๆ
ไม่เห่าเลยและไม่กัดด้วยวิเศษนักแล
อิ มา อา กิ
คาถา หัวใจสุนัข คาถาบทนี้ ภาวนาเวลาผ่านบ้านที่มีสุนัข หมาดุๆ
ไม่เห่าเลยและไม่กัดด้วยวิเศษนักแล
คาถาหัวใจขุนแผน
ตั้งนะโม 3 จบ
สุ นะ โม โล
คาถาหัวใจขุนแผน เป็นคาถา เมตตา มหานิยม แคล้วคลาดจากภยันตรายต่างๆ
บทเต็มๆจะกล่าวว่า" สุสิมุลิ สุนะโมโล อะวิสะมะ สะสิมะนะ"
สุ นะ โม โล
คาถาหัวใจขุนแผน เป็นคาถา เมตตา มหานิยม แคล้วคลาดจากภยันตรายต่างๆ
บทเต็มๆจะกล่าวว่า" สุสิมุลิ สุนะโมโล อะวิสะมะ สะสิมะนะ"
หัวใจคาถา ของพระมหาคาถาชินบัญชร
หัวใจคาถา ของพระมหาคาถาชินบัญชร
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี
ตั้งนะโม ๓ จบ
ชินะปัญชะระ ปะริตตังมัง รักขะตุ สัพพะทา หรือ
วิญญาณสัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา นะโมพุทธายะ
๙ จบ
(ขอพระอนันตชินเจ้าในบัญชรแวดวงกงล้อม พระโมรปริตรและพระขันธปริตร อรหันต์เจ้า จงคุ้มครองรักษาข้าพเจ้าให้พ้นจากภยันตรายสรรพสิ่งทั้งปวง ตลอดเวลาทุกเมื่อ)
เป็นคาถาสวดย่อ หรือเรียกว่าหัวใจคาถา ของพระมหาคาถาชินบัญชรที่สมเด็จโตแปลงมาจากศิลาจารึกที่พบในศรีลังกาดินแดน แห่งการสืบทอดศาสนาพุทธจากองค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธอรหันตเจ้าศาสดาของชาวพุทธ อินเดียพระองค์แรกที่ปรากฏในโลกมนุษย์ หากผู้ใดได้สวดภาวนาเป็นประจำ จะบทย่อหรือเต็มก็ตามถนัด จะบังเกิดสมาธิที่ทำให้เกิดปัญญาสามารถแก้ปัญหาสรรพสิ่งพึงปรารถนาที่ต้อง การได้ เป็นความเชื่อส่วนบุคคลที่มิได้บังคับผู้ใดที่ไม่เชื่อปฏิบัติ ฉะนั้น จงใช้วิจารณญาญในความเชื่อให้ถ่องแท้เถิด คงไม่ใช่การเล่น หรือการคิดค่าตอบแทนใดๆ โดยเฉพาะเลข ๙ ก็เป็นเลขมงคลแสดงถึงความก้าวหน้า สวด ๙ ครั้งก็เพื่อให้เกิดสมาธิแน่วแน่มั่นคงแม่นยำเผื่อพลาด และก็เพื่อเป็นการเผยแพร่ ซึ่งก็ไม่มีเหตุอันใดที่บังคับหากไม่ส่งต่อ และหากส่งแล้วหลุดพ้นจากบ่วงกรรมก็น่าจะดี เพราะช่วยให้ผู้อื่นหลุดพ้นด้วย จึงเป็นการให้ทานอย่างหนึ่ง มีอานิสงค์ตามอัตภาพของแต่ละบุคคล มิใช่ทั้งหมด บุคคลยังต้องเวียนว่ายกงกรรมของตนต่อไป ยังดีที่คิดได้และหากดีกว่านั้นต้องทำความดีกับตนและผู้อื่นให้ต่อเนื่อง หรือยึดถือศีล ๕ ให้จงได้ จะเกิดกุศลกรรมตามปรารถนาของแต่ละคน ซึ่งแนวพุทธมิได้มีการบังคับแต่อย่างใดอยู่ที่ผู้ปฏิบัติได้ในโลกุตรธรรมแค่ ไหน และก็มีปรากฏถึงขั้นพระอรหันตเจ้าสืบต่อกันมาให้เราได้เคารพยึดเหนี่ยวมาก มาย และก็อยู่ที่ผลการปฏิบัติดีแล้วเฉกเช่น สมเด็จโต ฯลฯ
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี
ตั้งนะโม ๓ จบ
ชินะปัญชะระ ปะริตตังมัง รักขะตุ สัพพะทา หรือ
วิญญาณสัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา นะโมพุทธายะ
๙ จบ
(ขอพระอนันตชินเจ้าในบัญชรแวดวงกงล้อม พระโมรปริตรและพระขันธปริตร อรหันต์เจ้า จงคุ้มครองรักษาข้าพเจ้าให้พ้นจากภยันตรายสรรพสิ่งทั้งปวง ตลอดเวลาทุกเมื่อ)
เป็นคาถาสวดย่อ หรือเรียกว่าหัวใจคาถา ของพระมหาคาถาชินบัญชรที่สมเด็จโตแปลงมาจากศิลาจารึกที่พบในศรีลังกาดินแดน แห่งการสืบทอดศาสนาพุทธจากองค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธอรหันตเจ้าศาสดาของชาวพุทธ อินเดียพระองค์แรกที่ปรากฏในโลกมนุษย์ หากผู้ใดได้สวดภาวนาเป็นประจำ จะบทย่อหรือเต็มก็ตามถนัด จะบังเกิดสมาธิที่ทำให้เกิดปัญญาสามารถแก้ปัญหาสรรพสิ่งพึงปรารถนาที่ต้อง การได้ เป็นความเชื่อส่วนบุคคลที่มิได้บังคับผู้ใดที่ไม่เชื่อปฏิบัติ ฉะนั้น จงใช้วิจารณญาญในความเชื่อให้ถ่องแท้เถิด คงไม่ใช่การเล่น หรือการคิดค่าตอบแทนใดๆ โดยเฉพาะเลข ๙ ก็เป็นเลขมงคลแสดงถึงความก้าวหน้า สวด ๙ ครั้งก็เพื่อให้เกิดสมาธิแน่วแน่มั่นคงแม่นยำเผื่อพลาด และก็เพื่อเป็นการเผยแพร่ ซึ่งก็ไม่มีเหตุอันใดที่บังคับหากไม่ส่งต่อ และหากส่งแล้วหลุดพ้นจากบ่วงกรรมก็น่าจะดี เพราะช่วยให้ผู้อื่นหลุดพ้นด้วย จึงเป็นการให้ทานอย่างหนึ่ง มีอานิสงค์ตามอัตภาพของแต่ละบุคคล มิใช่ทั้งหมด บุคคลยังต้องเวียนว่ายกงกรรมของตนต่อไป ยังดีที่คิดได้และหากดีกว่านั้นต้องทำความดีกับตนและผู้อื่นให้ต่อเนื่อง หรือยึดถือศีล ๕ ให้จงได้ จะเกิดกุศลกรรมตามปรารถนาของแต่ละคน ซึ่งแนวพุทธมิได้มีการบังคับแต่อย่างใดอยู่ที่ผู้ปฏิบัติได้ในโลกุตรธรรมแค่ ไหน และก็มีปรากฏถึงขั้นพระอรหันตเจ้าสืบต่อกันมาให้เราได้เคารพยึดเหนี่ยวมาก มาย และก็อยู่ที่ผลการปฏิบัติดีแล้วเฉกเช่น สมเด็จโต ฯลฯ
วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
คาถาพระพุทธเจ้าชนะมาร
....หลวงปู่มั่น...
ปัญจะ มาเร ชิโน นาโถ ปัตโต
สัมโพธิมุตตะมังจะตุสัจจัง ปะกาเสสิ
ธัมมะจักกัง ปะวัตตะยิ เอเตนะ
สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม
ชะยะมังคะลัง ฯ
... ป้องกันอันตรายทั้งปวงศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก
ปัญจะ มาเร ชิโน นาโถ ปัตโต
สัมโพธิมุตตะมังจะตุสัจจัง ปะกาเสสิ
ธัมมะจักกัง ปะวัตตะยิ เอเตนะ
สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม
ชะยะมังคะลัง ฯ
... ป้องกันอันตรายทั้งปวงศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก
คาถามหาลาภ
นะมะมีมา มะหาลาภา อิติพุทธัสสะ สุวัณณังวา ระชะตังวา มะณีวา ธะนังวา พีชังวา อัตถังวา ปัตถังวา เอหิ เอหิ อาคัจเฉยยะ อิติมีมา นะมามิหัง
วิธีใช้ : ใช้สวดภาวนาก่อนนอน 3 จบ และตื่นนอน 3 จบ เป็นการเรียกทรัพย์ เรียกลาภ จะบังเกิดโภคทรัพย์อย่างมหัศจรรย์
วิธีใช้ : ใช้สวดภาวนาก่อนนอน 3 จบ และตื่นนอน 3 จบ เป็นการเรียกทรัพย์ เรียกลาภ จะบังเกิดโภคทรัพย์อย่างมหัศจรรย์
คาถาอยู่เย็น
...หลวงพ่อโอภาสี วัดสวนบางมด กรุงเทพฯ
อิติสุคะโต อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ,
ปะฐะวีคงคา พระภุมมะเทวา ขะมามิหังฯ
วิธีใช้ : ภาวนาทุกครั้งที่นึกขึ้นได้ อย่างน้อยควร 2 ครั้ง คือเมื่อตืนนอนตอนเช้า และหลังสวดมนต์ก่อนนอน
ผลของการภาวนา : ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข
อิติสุคะโต อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ,
ปะฐะวีคงคา พระภุมมะเทวา ขะมามิหังฯ
วิธีใช้ : ภาวนาทุกครั้งที่นึกขึ้นได้ อย่างน้อยควร 2 ครั้ง คือเมื่อตืนนอนตอนเช้า และหลังสวดมนต์ก่อนนอน
ผลของการภาวนา : ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข
อิติปิโส
บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย
อัญชะลีกะระนีโย อะนุตตะรัง ปุญญะเขตตัง โลกัสสาติ.
คำแปล บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ
บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา ( เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น )
อะระหัง ( เป็นผู้ไกลจากกิเลส ) สัมมาสัมพุทโธ ( เป็นผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง )
วิชชาจะระณะสัมปันโน ( เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ )
สุคะโต ( เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ) โลกะวิทู ( เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง )
อะนุตตะโร ปุริสสะธัมมะสาระถิ ( เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า )
สัตถาเทวะมนุสสานัง ( เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย )
พุทโธ ( เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ) ภะคะวาติ. ( เป็นผู้มีความเจริญจำแกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้ )
บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม ( พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว )
สันทิฏฐิโก ( เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง )
อะกาลิโก ( เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล )
เอหิปัสสิโก ( เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด )
โอปะนะยิโก ( เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว )
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ( เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ )
บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว )
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว )
ญายะปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว )
สามีจิปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว )
ยะทิทัง ( ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ )
จัตตาริ ปุริสสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา ( คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ )
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า )
อาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา )
ปาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่จัดไว้ต้อนรับ )
ทักขิเนยโย ( เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน )
อัญชะลีกะระนีโย ( เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี )
อะนุตตะรัง ปุญญะเขตตัง โลกัสสาติ. ( เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้ )
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย
อัญชะลีกะระนีโย อะนุตตะรัง ปุญญะเขตตัง โลกัสสาติ.
คำแปล บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ
บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา ( เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น )
อะระหัง ( เป็นผู้ไกลจากกิเลส ) สัมมาสัมพุทโธ ( เป็นผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง )
วิชชาจะระณะสัมปันโน ( เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ )
สุคะโต ( เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ) โลกะวิทู ( เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง )
อะนุตตะโร ปุริสสะธัมมะสาระถิ ( เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า )
สัตถาเทวะมนุสสานัง ( เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย )
พุทโธ ( เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ) ภะคะวาติ. ( เป็นผู้มีความเจริญจำแกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้ )
บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม ( พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว )
สันทิฏฐิโก ( เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง )
อะกาลิโก ( เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล )
เอหิปัสสิโก ( เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด )
โอปะนะยิโก ( เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว )
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ( เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ )
บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว )
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว )
ญายะปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว )
สามีจิปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว )
ยะทิทัง ( ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ )
จัตตาริ ปุริสสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา ( คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ )
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า )
อาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา )
ปาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่จัดไว้ต้อนรับ )
ทักขิเนยโย ( เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน )
อัญชะลีกะระนีโย ( เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี )
อะนุตตะรัง ปุญญะเขตตัง โลกัสสาติ. ( เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้ )
ชัยปริตต์
พระคาถาพาหุง
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
ส่วนหนึ่งของ
พุทธศาสนา
ประวัติพุทธศาสนา
ศาสดา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา
พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์
ไตรสรณะ
พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
ความเชื่อและการปฏิบัติ
ศีล · ธรรม
ศีลห้า · เบญจธรรม
สมถะ · วิปัสสนา
บทสวดมนต์และพระคาถา
คัมภีร์และหนังสือ
พระไตรปิฎก
พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
หลักธรรมที่น่าสนใจ
ไตรลักษณ์
บัญญัติ · ขันธ์ · ปรมัตถธรรม
นิกาย
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน
สังคมพุทธศาสนา
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล
ดูเพิ่มเติม
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
หมวดหมู่พุทธศาสนา
สารานุกรมพระพุทธศาสนา สถานีย่อย
พระคาถาพาหุง (ข้อมูล)เรียกอีกอย่างว่า ชัยมงคลคาถา หรือ บทสวดถวายพระพร เป็นพระคาถาแปดบท ใช้สวดสรรเสริญชัยชนะแปดประการองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีต่อมนุษย์ และอมนุษย์ ที่ได้มาด้วยพระพุทธธรรม มิได้มาด้วยอิทธิปาฏิหาริย์แต่อย่างใด โดยพระมักสวดต่อท้ายทำวัตรเช้า – เย็น เริ่มด้วย บทพาหุง ตามด้วยบทมหาการุณิโก รวมเรียกว่า พาหุงมหาการุณิโก หรือ พาหุงมหากา
เนื้อหา
[ซ่อน]
* 1 ตำนานเกี่ยวกับพระคาถาพาหุงมหากา
* 2 บทสวดพร้อมคำแปล
* 3 บทสวดทำนองสรภัญญะ
* 4 แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้] ตำนานเกี่ยวกับพระคาถาพาหุงมหากา
จากคำสอนของพ่อจรัญ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี ท่านเล่าว่าได้พบกับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว แห่งกรุงศรีอยุธยาในนิมิต และได้ทราบว่าคาถาพาหุงมหากานี้ เป็นบทสวดที่สมเด็จพระพนรัตน์ ได้จารึกถวายต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้สวดเป็นประจำระหว่างอยู่ในพระบรมหาราชวัง หรือระหว่างออกศึกสงคราม เพื่อให้มีชัยต่อพระมหาอุปราชแห่งพม่า และกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากกรุงหงสาวดีได้สำเร็จ
[แก้] บทสวดพร้อมคำแปล
หมายเหตุ: หากสวดให้ตนเอง (ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้นจงมีแก่ "ข้าพเจ้า") ให้เปลี่ยนจาก เต เป็น เม
บทสวด คำแปล อรรถาธิบายอย่างย่อ
บทที่ ๑
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลังอุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมาะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
พญามารเนรมิตแขนตั้งพัน ถืออาวุธ ครบมือ ขี่ช้าง ครีเมขละ พร้อมด้วยเสนามาร โห่ร้องก้องกึก พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ ด้วยธรรมวิธี มีทานบารมี เป็นต้น ด้วยเดช แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบมาร ด้วยทานบารมี
พระพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ใต้ต้นโพธิ์ พระยาวัสสวดีมาราธิราช ได้ขี่ช้างคิรีเมขล์ ยกทัพมารที่ดุร้ายมุ่งผจญข่มขู่พระโพธิสัตว์ แต่ด้วยบุญบารมีของพระโพธิสัตว์ทำให้ พระแม่ธรณีปรากฏกายขึ้นบิดมวยผม เกิดน้ำท่วมใหญ่พัดพากองทัพมารแตกพ่ายไป
บทที่ ๒
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
อาฬวกยักษ์ผู้กระด้าง ปราศจาก ความอดทน ดุร้าย สู้รบกับพระพุทธเจ้าอย่าง ทรหดยิ่งกว่ามารตลอดราตรี พระจอมมุนีทรง เอาชนะได้ด้วยขันติวิธีที่ทรงฝึกฝนมาดี ด้วย เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบยักษ์ ด้วยขันติธรรม
พระพุทธเจ้าเสด็จไปปราบอาฬวกยักษ์ ซึ่งสำแดงฤทธิ์ ถีบยอดเขาไกรลาศ แล้วร้องเรียกยักษ์บริวารมาล้อมวิมาน ยิงศาสตราวุธ ๗ ประการใส่พระพุทธเจ้า อาวุธนั้นกลับกลายเป็นดอกไม้บูชาพระพุทธองค์ อาฬวกยักษ์แพ้ฤทธิ์แล้ว พระองค์จึงเทศนาโปรด จนยักษ์สำเร็จแก่พระโสดาปัตตผล
บทที่ ๓
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ
พญาช้างชื่อ นาฬาคิรี ตกมัน ดุร้ายยิ่งนัก ประดุจไฟป่า จักราวุธ และสายฟ้า พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ด้วยวิธีรดด้วยน้ำ คือเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบช้าง ด้วยเมตตาธรรม
พระพุทธองค์ทรงทรมานช้างนาฬาคีรี ครั้งนั้นพระเทวทัตคิดฆ่าพระพุทธเจ้า จึงเข้าเฝ้าพระเจ้าอชาตศัตรู ขอให้เอาเหล้ากรอกช้างนาฬาคีรี แล้วปล่อยไปตามถนน ที่พระพุทธองค์เสด็จออกบิณฑบาต พระพุทธเจ้าทรงทรมานช้างนาฬาคีรีให้หายเมาเหล้า แล้วตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมณ์
บทที่ ๔
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ
โจรองคุลิมาล (โจรฆ่าคนเอานิ้ว ทำพวงมาลัยแสนดุร้าย) ถือดาบเงื้อง่าวิ่งไล่ฆ่า พระพุทธองค์สิ้นระยะทาง ๓ โยชน์ พระจอมมุณี ทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจเอาชนะได้ราบคาบ ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบมหาโจร ด้วยอิทธิฤทธิ์
พระพุทธเจ้าทรงโปรดองคุลิมาล เมื่อพระพุทธองค์กลับจากบิณฑบาตในกรุงสาวัตถีพบองคุลิมาล องคุลิมาลเห็นเข้าจึงจับอาวุธไล่ตามพระพุทธองค์ แต่ไล่ตามไม่ทัน พระพุทธองค์ตรัสให้องคุลิมาลได้คิด “เราหยุดแล้ว แต่ท่านสิไม่หยุด” องคุลิมาลเลื่อมใส ขอบวช และตามเสด็จกลับไปกรุงสาวัตถี พักอยู่ ณ เชตวนาราม
บทที่ ๕
กัตวานะ กัฎฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
นางจิญจมาณวิกา (สาวิกาพวกนิครนถ์) เอาไม้กลมๆ มาผูกท้อง ทำอาการ ประหนึ่งว่ามีครรภ์ ใส่ร้ายพระพุทะเจ้า ท่ามกลางฝูงชน พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ ด้วยวิธีสงบระงับพระหฤทัยอันงดงาม ด้วย เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบหญิงแพศยา ด้วยสันติธรรม
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ เชตุพน ใกล้เมืองสาวัตถี ครั้งนั้นเกิดลาภสักการะในพระพุทธศาสนามาก พวกเศรษฐีให้นางจิญจมาณวิกา ทำอุบาย เข้าออกในพระเชตุพนเนืองๆ แล้วเอาท่อนไม้ผูกท้องเข้าในผ้านุ่ง ไปยืนแสดงตนขณะพระพุทธเจ้าแสดงพระธรรมเทศนา ร้องตู่ว่าพระองค์ทำให้นางมีครรภ์ พระอินทร์และเทพยดา ๔ องค์ นิมิตลงมาเป็นหนูกัดเชือกผูกท่อนไม้ขาด แล้วแผ่นดินก็สูบนางจิญจมาณวิกาลงไปในนรก
บทที่ ๖
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
สัจจกนิครนถ์ผู้ถือตัวว่าฉลาด เป็นนักโต้วาทะชั้นยอด สละเสียซึ่งสัจจะ ตั้งใจมาได้วาทะหักล้างพระพุทธองค์ เป็นคน มืดบอดยิ่งนัก พระจอมมุนีผู้สว่างจ้าด้วย “แสงปัญญา” ทรงเอาชนะได้ ด้วยเดชแห่ง ชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบเจ้าลัทธิ ด้วยปัญญา
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ในมหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นมีสัจกนิครนถ์บุตร อาศัยในเมืองเวสาลี ถือมิจฉาทิฐิ ตั้งตนเป็นปราชญ์ มีความรู้มาก ต้องทำแผ่นเหล็กรัดท้อง เพราะกลัววิชาจะทำลายท้องแตก วันหนึ่งพบพระอัสชิ จึงถามปัญหาแก่ท่าน ต่อมาได้ชวนพญาลิจฉวีทั้ง ๕๐๐ ไปป่ามหาวัน ถามปัญหาแก่พระพุทธเจ้า ขณะนั้นพระอินทร์นิมิตเป็นยักษ์ถือฆ้อน ลอยอยู่บนอากาศ เหนือศีรษะของสัจกนิครนถ์ สัจกนิครนถ์นั้นได้ฟังพระธรรมเทศนา จากพระพุทธเจ้า ก็ละมิจฉาทิฐิ แล้วตั้งตนอยู่ในพระไตรสรณคมณ์
บทที่ ๗
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
พญานาค ชื่อนันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก พระจอมมุนี ทรงมี พุทธบัญชาให้พระโมคคัลลานะพุทธโอรส ไป ปราบด้วยวิธีแสดงฤทธิ์ที่เหนือกว่า ด้วยเดช แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคล จงมีแก่ท่าน
ปราบพญานาคจอมพาล ด้วยฤทธิ์สู้ฤทธิ์
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์เหาะไปสู่เทวโลก พญานันโทปนันทนาคเห็นเข้า ก็โกรธว่าพระสมณะเหาะข้ามศีรษะ จึงบันดาลขดกายใหญ่พันเขาพระสุเมรุ แผ่พังพานยังดาวดึงส์ พระพุทธองค์ส่งพระโมคคัลานะไปปราบ ต่างสำแดงฤทธิ์เดชต่างๆ เป็นโกลาหล ภายหลังพญานาคแพ้ฤทธิ์ แล้วตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมณ์
บทที่ ๘
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ
พรหมชื่อพกะ (ถือตัวว่า) มีความ บริสุทธิ์ รุ่งเรืองและมีฤทธิ์ ยึดมั่นในความเห็นผิด ดุจมีมือถูกอสรพิษขบเอา
ปราบพกาพรหม ด้วยญาณ
พระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นสู่พรหมโลก ท้าวพกาพรหมเห็นพระพุทธองค์เสด็จมา จึงเรียกร้องด้วยคำกระด้าง แล้วกำบังกาย แต่ก็มิสามารถกำบังกายได้ หมู่พรหมทั้งหลายก็หัวเราะเยาะเย้ย ท้าวผกาพรหมได้รับความอับอายยิ่งนัก แล้วพระพุทธเจ้าจึงเทศนาธรรม ทรมานท้าวพกาพรหมและพรหม ๑,๐๐๐ ให้สำเร็จมรรคผล
บทส่งท้าย
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
คนมีปัญญาสวดพุทธชัยมงคล คาถาทั้ง ๘ นี้เป็นประจำ โดยไม่เกียจคร้าน พึงขจัดอุปัทวันตรายทั้งหลายได้ บรรลุถึงซึ่ง พระนิพพานอันเป็นสุข
บทมหาการุณิโก
มหาการุณิโก นาโถ
หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา
ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล
สัก์ยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ
ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก
สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง
อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง
สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ
สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง
วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง
ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตวานะ
ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ทรงประกอบด้วยพระมห ากรุณา ทรงบำเพ็ญพระบารมีทั้งปวง เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยการกล่าวสัจจวาจานี้ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า
ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะในชัยมงคลพิธี ดุจพระจอมมุนีผู้ยังความปีติยินดีให้เพิ่มพูนแก่ชาวศ ากยะ ทรงมีชัยชนะมาร ณ โคนต้นมหาโพธิ์ทรงถึงความเป็นเลิศยอดเยี่ยม ทรงปีติปราโมทย์อยู่เหนืออชิตบัลลังก์อันไม่รู้พ่าย ณ โปกขรปฐพี อันเป็นที่อภิเษกของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ฉะนั้นเถิด
เวลาที่กำหนดไว้ดี งานมงคลดี รุ่งแจ้งดี ความพยายามดี ชั่วขณะหนึ่งดี ชั่วครู่หนึ่งดี การบูชาดี แด่พระสงฆ์ผู้บริสุทธิ์ กายกรรมอันเป็นกุศล วจีกรรมอันเป็นกุศล มโนกรรมอันเป็นกุศล ความปรารถนาดีอันเป็นกุศล ผู้ได้ประพฤติกรรมอันเป็นกุศล ย่อมประสบความสุขโชคดี เทอญ
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
ส่วนหนึ่งของ
พุทธศาสนา
ประวัติพุทธศาสนา
ศาสดา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา
พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์
ไตรสรณะ
พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
ความเชื่อและการปฏิบัติ
ศีล · ธรรม
ศีลห้า · เบญจธรรม
สมถะ · วิปัสสนา
บทสวดมนต์และพระคาถา
คัมภีร์และหนังสือ
พระไตรปิฎก
พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
หลักธรรมที่น่าสนใจ
ไตรลักษณ์
บัญญัติ · ขันธ์ · ปรมัตถธรรม
นิกาย
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน
สังคมพุทธศาสนา
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล
ดูเพิ่มเติม
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
หมวดหมู่พุทธศาสนา
สารานุกรมพระพุทธศาสนา สถานีย่อย
พระคาถาพาหุง (ข้อมูล)เรียกอีกอย่างว่า ชัยมงคลคาถา หรือ บทสวดถวายพระพร เป็นพระคาถาแปดบท ใช้สวดสรรเสริญชัยชนะแปดประการองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีต่อมนุษย์ และอมนุษย์ ที่ได้มาด้วยพระพุทธธรรม มิได้มาด้วยอิทธิปาฏิหาริย์แต่อย่างใด โดยพระมักสวดต่อท้ายทำวัตรเช้า – เย็น เริ่มด้วย บทพาหุง ตามด้วยบทมหาการุณิโก รวมเรียกว่า พาหุงมหาการุณิโก หรือ พาหุงมหากา
เนื้อหา
[ซ่อน]
* 1 ตำนานเกี่ยวกับพระคาถาพาหุงมหากา
* 2 บทสวดพร้อมคำแปล
* 3 บทสวดทำนองสรภัญญะ
* 4 แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้] ตำนานเกี่ยวกับพระคาถาพาหุงมหากา
จากคำสอนของพ่อจรัญ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี ท่านเล่าว่าได้พบกับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว แห่งกรุงศรีอยุธยาในนิมิต และได้ทราบว่าคาถาพาหุงมหากานี้ เป็นบทสวดที่สมเด็จพระพนรัตน์ ได้จารึกถวายต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้สวดเป็นประจำระหว่างอยู่ในพระบรมหาราชวัง หรือระหว่างออกศึกสงคราม เพื่อให้มีชัยต่อพระมหาอุปราชแห่งพม่า และกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากกรุงหงสาวดีได้สำเร็จ
[แก้] บทสวดพร้อมคำแปล
หมายเหตุ: หากสวดให้ตนเอง (ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้นจงมีแก่ "ข้าพเจ้า") ให้เปลี่ยนจาก เต เป็น เม
บทสวด คำแปล อรรถาธิบายอย่างย่อ
บทที่ ๑
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลังอุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมาะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
พญามารเนรมิตแขนตั้งพัน ถืออาวุธ ครบมือ ขี่ช้าง ครีเมขละ พร้อมด้วยเสนามาร โห่ร้องก้องกึก พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ ด้วยธรรมวิธี มีทานบารมี เป็นต้น ด้วยเดช แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบมาร ด้วยทานบารมี
พระพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ใต้ต้นโพธิ์ พระยาวัสสวดีมาราธิราช ได้ขี่ช้างคิรีเมขล์ ยกทัพมารที่ดุร้ายมุ่งผจญข่มขู่พระโพธิสัตว์ แต่ด้วยบุญบารมีของพระโพธิสัตว์ทำให้ พระแม่ธรณีปรากฏกายขึ้นบิดมวยผม เกิดน้ำท่วมใหญ่พัดพากองทัพมารแตกพ่ายไป
บทที่ ๒
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
อาฬวกยักษ์ผู้กระด้าง ปราศจาก ความอดทน ดุร้าย สู้รบกับพระพุทธเจ้าอย่าง ทรหดยิ่งกว่ามารตลอดราตรี พระจอมมุนีทรง เอาชนะได้ด้วยขันติวิธีที่ทรงฝึกฝนมาดี ด้วย เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบยักษ์ ด้วยขันติธรรม
พระพุทธเจ้าเสด็จไปปราบอาฬวกยักษ์ ซึ่งสำแดงฤทธิ์ ถีบยอดเขาไกรลาศ แล้วร้องเรียกยักษ์บริวารมาล้อมวิมาน ยิงศาสตราวุธ ๗ ประการใส่พระพุทธเจ้า อาวุธนั้นกลับกลายเป็นดอกไม้บูชาพระพุทธองค์ อาฬวกยักษ์แพ้ฤทธิ์แล้ว พระองค์จึงเทศนาโปรด จนยักษ์สำเร็จแก่พระโสดาปัตตผล
บทที่ ๓
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ
พญาช้างชื่อ นาฬาคิรี ตกมัน ดุร้ายยิ่งนัก ประดุจไฟป่า จักราวุธ และสายฟ้า พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ด้วยวิธีรดด้วยน้ำ คือเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบช้าง ด้วยเมตตาธรรม
พระพุทธองค์ทรงทรมานช้างนาฬาคีรี ครั้งนั้นพระเทวทัตคิดฆ่าพระพุทธเจ้า จึงเข้าเฝ้าพระเจ้าอชาตศัตรู ขอให้เอาเหล้ากรอกช้างนาฬาคีรี แล้วปล่อยไปตามถนน ที่พระพุทธองค์เสด็จออกบิณฑบาต พระพุทธเจ้าทรงทรมานช้างนาฬาคีรีให้หายเมาเหล้า แล้วตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมณ์
บทที่ ๔
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ
โจรองคุลิมาล (โจรฆ่าคนเอานิ้ว ทำพวงมาลัยแสนดุร้าย) ถือดาบเงื้อง่าวิ่งไล่ฆ่า พระพุทธองค์สิ้นระยะทาง ๓ โยชน์ พระจอมมุณี ทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจเอาชนะได้ราบคาบ ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบมหาโจร ด้วยอิทธิฤทธิ์
พระพุทธเจ้าทรงโปรดองคุลิมาล เมื่อพระพุทธองค์กลับจากบิณฑบาตในกรุงสาวัตถีพบองคุลิมาล องคุลิมาลเห็นเข้าจึงจับอาวุธไล่ตามพระพุทธองค์ แต่ไล่ตามไม่ทัน พระพุทธองค์ตรัสให้องคุลิมาลได้คิด “เราหยุดแล้ว แต่ท่านสิไม่หยุด” องคุลิมาลเลื่อมใส ขอบวช และตามเสด็จกลับไปกรุงสาวัตถี พักอยู่ ณ เชตวนาราม
บทที่ ๕
กัตวานะ กัฎฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
นางจิญจมาณวิกา (สาวิกาพวกนิครนถ์) เอาไม้กลมๆ มาผูกท้อง ทำอาการ ประหนึ่งว่ามีครรภ์ ใส่ร้ายพระพุทะเจ้า ท่ามกลางฝูงชน พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ ด้วยวิธีสงบระงับพระหฤทัยอันงดงาม ด้วย เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบหญิงแพศยา ด้วยสันติธรรม
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ เชตุพน ใกล้เมืองสาวัตถี ครั้งนั้นเกิดลาภสักการะในพระพุทธศาสนามาก พวกเศรษฐีให้นางจิญจมาณวิกา ทำอุบาย เข้าออกในพระเชตุพนเนืองๆ แล้วเอาท่อนไม้ผูกท้องเข้าในผ้านุ่ง ไปยืนแสดงตนขณะพระพุทธเจ้าแสดงพระธรรมเทศนา ร้องตู่ว่าพระองค์ทำให้นางมีครรภ์ พระอินทร์และเทพยดา ๔ องค์ นิมิตลงมาเป็นหนูกัดเชือกผูกท่อนไม้ขาด แล้วแผ่นดินก็สูบนางจิญจมาณวิกาลงไปในนรก
บทที่ ๖
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
สัจจกนิครนถ์ผู้ถือตัวว่าฉลาด เป็นนักโต้วาทะชั้นยอด สละเสียซึ่งสัจจะ ตั้งใจมาได้วาทะหักล้างพระพุทธองค์ เป็นคน มืดบอดยิ่งนัก พระจอมมุนีผู้สว่างจ้าด้วย “แสงปัญญา” ทรงเอาชนะได้ ด้วยเดชแห่ง ชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
ปราบเจ้าลัทธิ ด้วยปัญญา
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ในมหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นมีสัจกนิครนถ์บุตร อาศัยในเมืองเวสาลี ถือมิจฉาทิฐิ ตั้งตนเป็นปราชญ์ มีความรู้มาก ต้องทำแผ่นเหล็กรัดท้อง เพราะกลัววิชาจะทำลายท้องแตก วันหนึ่งพบพระอัสชิ จึงถามปัญหาแก่ท่าน ต่อมาได้ชวนพญาลิจฉวีทั้ง ๕๐๐ ไปป่ามหาวัน ถามปัญหาแก่พระพุทธเจ้า ขณะนั้นพระอินทร์นิมิตเป็นยักษ์ถือฆ้อน ลอยอยู่บนอากาศ เหนือศีรษะของสัจกนิครนถ์ สัจกนิครนถ์นั้นได้ฟังพระธรรมเทศนา จากพระพุทธเจ้า ก็ละมิจฉาทิฐิ แล้วตั้งตนอยู่ในพระไตรสรณคมณ์
บทที่ ๗
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
พญานาค ชื่อนันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก พระจอมมุนี ทรงมี พุทธบัญชาให้พระโมคคัลลานะพุทธโอรส ไป ปราบด้วยวิธีแสดงฤทธิ์ที่เหนือกว่า ด้วยเดช แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคล จงมีแก่ท่าน
ปราบพญานาคจอมพาล ด้วยฤทธิ์สู้ฤทธิ์
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์เหาะไปสู่เทวโลก พญานันโทปนันทนาคเห็นเข้า ก็โกรธว่าพระสมณะเหาะข้ามศีรษะ จึงบันดาลขดกายใหญ่พันเขาพระสุเมรุ แผ่พังพานยังดาวดึงส์ พระพุทธองค์ส่งพระโมคคัลานะไปปราบ ต่างสำแดงฤทธิ์เดชต่างๆ เป็นโกลาหล ภายหลังพญานาคแพ้ฤทธิ์ แล้วตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมณ์
บทที่ ๘
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ
พรหมชื่อพกะ (ถือตัวว่า) มีความ บริสุทธิ์ รุ่งเรืองและมีฤทธิ์ ยึดมั่นในความเห็นผิด ดุจมีมือถูกอสรพิษขบเอา
ปราบพกาพรหม ด้วยญาณ
พระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นสู่พรหมโลก ท้าวพกาพรหมเห็นพระพุทธองค์เสด็จมา จึงเรียกร้องด้วยคำกระด้าง แล้วกำบังกาย แต่ก็มิสามารถกำบังกายได้ หมู่พรหมทั้งหลายก็หัวเราะเยาะเย้ย ท้าวผกาพรหมได้รับความอับอายยิ่งนัก แล้วพระพุทธเจ้าจึงเทศนาธรรม ทรมานท้าวพกาพรหมและพรหม ๑,๐๐๐ ให้สำเร็จมรรคผล
บทส่งท้าย
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
คนมีปัญญาสวดพุทธชัยมงคล คาถาทั้ง ๘ นี้เป็นประจำ โดยไม่เกียจคร้าน พึงขจัดอุปัทวันตรายทั้งหลายได้ บรรลุถึงซึ่ง พระนิพพานอันเป็นสุข
บทมหาการุณิโก
มหาการุณิโก นาโถ
หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา
ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล
สัก์ยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ
ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก
สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง
อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง
สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ
สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง
วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง
ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตวานะ
ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ทรงประกอบด้วยพระมห ากรุณา ทรงบำเพ็ญพระบารมีทั้งปวง เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยการกล่าวสัจจวาจานี้ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า
ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะในชัยมงคลพิธี ดุจพระจอมมุนีผู้ยังความปีติยินดีให้เพิ่มพูนแก่ชาวศ ากยะ ทรงมีชัยชนะมาร ณ โคนต้นมหาโพธิ์ทรงถึงความเป็นเลิศยอดเยี่ยม ทรงปีติปราโมทย์อยู่เหนืออชิตบัลลังก์อันไม่รู้พ่าย ณ โปกขรปฐพี อันเป็นที่อภิเษกของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ฉะนั้นเถิด
เวลาที่กำหนดไว้ดี งานมงคลดี รุ่งแจ้งดี ความพยายามดี ชั่วขณะหนึ่งดี ชั่วครู่หนึ่งดี การบูชาดี แด่พระสงฆ์ผู้บริสุทธิ์ กายกรรมอันเป็นกุศล วจีกรรมอันเป็นกุศล มโนกรรมอันเป็นกุศล ความปรารถนาดีอันเป็นกุศล ผู้ได้ประพฤติกรรมอันเป็นกุศล ย่อมประสบความสุขโชคดี เทอญ
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ
ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
จาก วิกิซอร์ซ
ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
==บทสวด==
๑.อิติปิโสภะคะวา อะระหัง วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สุคะโต วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโสภะคะวา ฯ
๒.อะระหันตัง สะระณังคัจฉามิ อะระหันตัง สิระสานะมามิ สัมมาสัมพุทธัง สะระณังคัจฉามิ, สัมมาสัมพุทธัง สิระสานะมามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณังคัจฉามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสานะมิ, สุคะตัง สะระณังคัจฉามิ, สุคะตัง สิระสานะมามิ โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ, โลกะวิทัง สิระสานะมามิ
๓.อิติปิโสภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา พุทโธ วัจจะโสภะคะวา ฯ
๔.อะนุตตะรัง สะระณังคัจฉามิ อะนุตตะรัง สิระสานะมามิ ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณังคัจฉามิ, ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสานะมามิ, สัตถาเทวะมะนุสสานัง สะระณังคัจฉามิ, สัตถาเทวะมะนุสสานัง
สิระสานะมามิ,พุทธัง สะระณังคัจฉามิ,พุทธัง สิระสา นะมามิ อิติปิโสภะคะวา ฯ
๕.อิติปิโสภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโภะคะวา ฯ
๖.อิติปิโสภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ
๗.อิติปิโสภะคะวา ยามา ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ตุสิตา ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ
๘.อิติปิโสภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๙.อิติปิโสภะคะวา ปัญจะมะฌานะ อากาสานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา ฉะถะมะฌานะ วิญญานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา สัตตะมะฌานะ อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา อัฏฐะมะฌานะ เนวะสัญญานายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๑๐.อิติปิโสภะคะวา โสตาปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา สะกิทาคามิปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะนาคามิปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะระหัตตะปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๑๑.อิติปิโสภะคะวา โสตา อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา สะกิทาคามิ อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะนาคามิ อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๑๒.กุสะลาธัมมา อิติปิโสภะคะวา อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ชมภูทิปัญจะอิสสะโร กุสะลาธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ ปัญจะพุทธานะมามิหัง อาปามะจุปะที มะสังอังคุ สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะ สุเหปาสา ยะโสโส สะสะ อะอะอะอะ นิเตชะสุเน มะภูจะนาวิเว อะสังวิสุโร ปุสะภุพะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลาธัมมา จิตติวิอัตถิ ฯ
๑๓.อิติปิโสภะคะวา อะระหัง อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสะโรธัมมา ฯ
๑๔.กุสะลาธัมมา นันทะวิวังโก อิติสัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโนยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ จาตุมะหาราชิกา อิสะโรกุสะลาธัมมา อิติวิชชาจะระณะสัมปันโน อุอุยาวะ ตาวะติงสา อิสะโรกุสะลาธัมมา นันทะปัญจะสุคะโตโลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ยามาอิสะโร กุสะลาธัมมา พรหมมา สัททะปัญจะ สัตตะสัตตา ปาระมีอะนุตตะโร ยะมะกะขะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๕.ตุสิตา อิสะโร กุสะลาธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๖.นิมมานะระติ อิสะโร กุสะลาธัมมา เหตุโปวะ สัตถาเทวะมะนุสสานัง ตะถะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๗.ปะระนิมมิตตะอิสสะโร กุสะลาธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะ ปะผะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๘.พรหมมาอิสสะโร กุสะลาธัมมา นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณังคัจฉามิ นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๑๙.นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๒๐.อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมมะสาวัง มะหาพรหมมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิ วิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหตุ ฯ
๒๑.สาวังคุณัง วะชะพะลังเตชัง วิริยังสิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกังถานังสีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาขะยัง ตัปปังสุขังสิริรูปัง กุวิสะสะติเสนัง เอเตนะสัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๒๒.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิโส ภะคะวา ฯ
๒๓.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
๒๔.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
๒๕.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
๒๖.นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง ฯ
๒๗.นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะหาโย นะโม อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอา วันทา นะโมพุทธายะ นะอะกะติ นิสะระนะ อาระ ปะขุธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ
[แก้ไข] คำแปล
๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
๒. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เอง ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า
๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นอนุตตะโร คือ ยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตื่นจากกิเลส
๔. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายว่าเป็นที่พึ่ง กำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็น ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ด้วยเศียรเกล้า
๕. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น รูปขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เวทนาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สัญญาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สังขารขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น วิญญาณขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
๖. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ น้ำจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
๗. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นยามา พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นดุสิต พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นนิมมานรดี พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในกามาวจรภูมิ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในรูปาวจรภูมิ
๘. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปฐมญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ทุติยญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ตติยญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ จตุตถญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปัญจมญาน
๙. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ
๑๐. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค
๑๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล และ พระอรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล และ พระอรหัตตผล
๑๒. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นอิสสระแห่งชมภูทวีป ธรรมะฝ่ายกุศล ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ด้วยหัวใจพระวินัยปิฎก ด้วยหัวใจพระสุตตันตปิฎก ด้วยหัวใจพระอภิธรรมปิฎก ด้วยมนต์คาถา ด้วยหัวใจมรรคสี่ ผลสี่ และ นิพพานหนึ่ง ด้วยหัวใจพระเจ้าสิบชาติทรงแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ ด้วยหัวใจพระพุทธคุณเก้า ด้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยอันวิจิตรพิสดาร
๑๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต
๑๔. ธรรมะฝ่ายกุศล ของผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกา ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ธรรมะฝ่ายกุศล พระพุทธเจ้าเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นยามา ธรรมะฝ่ายกุศล ด้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด้วยพระบารมีอันยอดเยี่ยมของพระโพธิสัตว์ทั้งห้า ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต
๑๕. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดุสิต
๑๖. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นนิมมานรดี
๑๗. ธรรมฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้รู้แจ้ง สังขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็นของไม่เที่ยง เป็นความทุกข์ มิใช่เป็นตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี
๑๘. ธรรมะฝ่ายกุศล ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นพรหมโลก ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งตราบเข้าสู่พระนิพพาน
๑๙. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยการสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
๒๐. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
๒๑. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
๒๒. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
๒๓. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
๒๔. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
๒๕. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
๒๖. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
๒๗. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยคำสอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยพระธรรมคำสั่งสอน ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง
จาก วิกิซอร์ซ
ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
==บทสวด==
๑.อิติปิโสภะคะวา อะระหัง วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สุคะโต วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโสภะคะวา ฯ
๒.อะระหันตัง สะระณังคัจฉามิ อะระหันตัง สิระสานะมามิ สัมมาสัมพุทธัง สะระณังคัจฉามิ, สัมมาสัมพุทธัง สิระสานะมามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณังคัจฉามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสานะมิ, สุคะตัง สะระณังคัจฉามิ, สุคะตัง สิระสานะมามิ โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ, โลกะวิทัง สิระสานะมามิ
๓.อิติปิโสภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา พุทโธ วัจจะโสภะคะวา ฯ
๔.อะนุตตะรัง สะระณังคัจฉามิ อะนุตตะรัง สิระสานะมามิ ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณังคัจฉามิ, ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสานะมามิ, สัตถาเทวะมะนุสสานัง สะระณังคัจฉามิ, สัตถาเทวะมะนุสสานัง
สิระสานะมามิ,พุทธัง สะระณังคัจฉามิ,พุทธัง สิระสา นะมามิ อิติปิโสภะคะวา ฯ
๕.อิติปิโสภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโภะคะวา ฯ
๖.อิติปิโสภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ
๗.อิติปิโสภะคะวา ยามา ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ตุสิตา ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ
๘.อิติปิโสภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๙.อิติปิโสภะคะวา ปัญจะมะฌานะ อากาสานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา ฉะถะมะฌานะ วิญญานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา สัตตะมะฌานะ อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา อัฏฐะมะฌานะ เนวะสัญญานายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๑๐.อิติปิโสภะคะวา โสตาปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา สะกิทาคามิปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะนาคามิปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะระหัตตะปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๑๑.อิติปิโสภะคะวา โสตา อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา สะกิทาคามิ อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะนาคามิ อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
๑๒.กุสะลาธัมมา อิติปิโสภะคะวา อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ชมภูทิปัญจะอิสสะโร กุสะลาธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ ปัญจะพุทธานะมามิหัง อาปามะจุปะที มะสังอังคุ สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะ สุเหปาสา ยะโสโส สะสะ อะอะอะอะ นิเตชะสุเน มะภูจะนาวิเว อะสังวิสุโร ปุสะภุพะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลาธัมมา จิตติวิอัตถิ ฯ
๑๓.อิติปิโสภะคะวา อะระหัง อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสะโรธัมมา ฯ
๑๔.กุสะลาธัมมา นันทะวิวังโก อิติสัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโนยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ จาตุมะหาราชิกา อิสะโรกุสะลาธัมมา อิติวิชชาจะระณะสัมปันโน อุอุยาวะ ตาวะติงสา อิสะโรกุสะลาธัมมา นันทะปัญจะสุคะโตโลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ยามาอิสะโร กุสะลาธัมมา พรหมมา สัททะปัญจะ สัตตะสัตตา ปาระมีอะนุตตะโร ยะมะกะขะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๕.ตุสิตา อิสะโร กุสะลาธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๖.นิมมานะระติ อิสะโร กุสะลาธัมมา เหตุโปวะ สัตถาเทวะมะนุสสานัง ตะถะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๗.ปะระนิมมิตตะอิสสะโร กุสะลาธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะ ปะผะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ
๑๘.พรหมมาอิสสะโร กุสะลาธัมมา นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณังคัจฉามิ นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๑๙.นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๒๐.อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมมะสาวัง มะหาพรหมมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิ วิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหตุ ฯ
๒๑.สาวังคุณัง วะชะพะลังเตชัง วิริยังสิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกังถานังสีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาขะยัง ตัปปังสุขังสิริรูปัง กุวิสะสะติเสนัง เอเตนะสัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๒๒.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิโส ภะคะวา ฯ
๒๓.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
๒๔.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
๒๕.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
๒๖.นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง ฯ
๒๗.นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะหาโย นะโม อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอา วันทา นะโมพุทธายะ นะอะกะติ นิสะระนะ อาระ ปะขุธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ
[แก้ไข] คำแปล
๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
๒. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เอง ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า
๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นอนุตตะโร คือ ยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตื่นจากกิเลส
๔. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายว่าเป็นที่พึ่ง กำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็น ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ด้วยเศียรเกล้า
๕. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น รูปขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เวทนาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สัญญาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สังขารขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น วิญญาณขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
๖. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ น้ำจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
๗. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นยามา พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นดุสิต พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นนิมมานรดี พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในกามาวจรภูมิ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในรูปาวจรภูมิ
๘. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปฐมญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ทุติยญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ตติยญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ จตุตถญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปัญจมญาน
๙. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ
๑๐. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค
๑๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล และ พระอรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล และ พระอรหัตตผล
๑๒. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นอิสสระแห่งชมภูทวีป ธรรมะฝ่ายกุศล ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ด้วยหัวใจพระวินัยปิฎก ด้วยหัวใจพระสุตตันตปิฎก ด้วยหัวใจพระอภิธรรมปิฎก ด้วยมนต์คาถา ด้วยหัวใจมรรคสี่ ผลสี่ และ นิพพานหนึ่ง ด้วยหัวใจพระเจ้าสิบชาติทรงแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ ด้วยหัวใจพระพุทธคุณเก้า ด้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยอันวิจิตรพิสดาร
๑๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต
๑๔. ธรรมะฝ่ายกุศล ของผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกา ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ธรรมะฝ่ายกุศล พระพุทธเจ้าเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นยามา ธรรมะฝ่ายกุศล ด้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด้วยพระบารมีอันยอดเยี่ยมของพระโพธิสัตว์ทั้งห้า ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต
๑๕. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดุสิต
๑๖. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นนิมมานรดี
๑๗. ธรรมฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้รู้แจ้ง สังขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็นของไม่เที่ยง เป็นความทุกข์ มิใช่เป็นตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี
๑๘. ธรรมะฝ่ายกุศล ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นพรหมโลก ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งตราบเข้าสู่พระนิพพาน
๑๙. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยการสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
๒๐. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
๒๑. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
๒๒. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
๒๓. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
๒๔. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
๒๕. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
๒๖. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
๒๗. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยคำสอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยพระธรรมคำสั่งสอน ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง
ชีนบัญชร
คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ
ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง
ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ
ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด
* เริ่มสวด นโม 3 จบ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
* นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
* เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร
1. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
6. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
7. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
8. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
12. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
15. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.
คำแปล
1. พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์
ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ
อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์
2. มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น
3. ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ
พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง
พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
4. พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา
พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง
5. พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา
พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย
6. มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง
อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
7. พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ
มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ
8. พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี
พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
9. ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส
เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน
รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่
10. พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา
พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง
11. พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร
เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
12. อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้
ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง
สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
13. ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ
เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม
แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน
อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น
เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ
14. ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น
จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร
ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล
15. ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม
จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า
ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ
แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ
ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง
ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ
ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด
* เริ่มสวด นโม 3 จบ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
* นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
* เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร
1. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
6. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
7. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
8. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
12. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
15. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.
คำแปล
1. พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์
ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ
อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์
2. มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น
3. ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ
พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง
พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
4. พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา
พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง
5. พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา
พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย
6. มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง
อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
7. พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ
มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ
8. พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี
พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
9. ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส
เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน
รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่
10. พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา
พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง
11. พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร
เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
12. อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้
ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง
สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
13. ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ
เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม
แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน
อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น
เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ
14. ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น
จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร
ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล
15. ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม
จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า
ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ
แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
วันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
โพชฌังคะปริต
โพชฌังโค สติสังขาโต ธัมมานํ วิจโย ตถา
วิริยัมปิติ ปัสสัทธิ โพชฌังคา จ ตถา ปเร
สมาธุ เปกขโพชฌังคา สัตเตเต สัพพทัสสินา
มุนิตา สัมมนักขาตา ภาวิตา พหุลีกตา
สํวัตตันติ อภิญญายะ นิพพานายะ จ โพธิยา
หมายเหตุ:(ก) ในพุทธประวัติได้กล่าวไว้ว่าเป็นมนต์ที่พระพุทธเจ้าถือว่าทำให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บได้โดยมีความปรากฏที่เล่าถึงการใช้ถึงสามครั้งดังนี้
1.ทรงสวดประทานให้ พระกัสสป สาวกผู้ใหญ่ที่อาพาธหนัก ณ ถ้า ปิปผลิ ทำให้หายป่วย
2.ทรงสวดประทานแก่ พระโมคคัลลา อัครสาวก ซึ่งอาพาธหนักอยู่ที่เขาคิชฌกูฏ ทำให้หายป่วย
3.ทรงให้พระจุนทะซึ่งเป็นพระสาวกสวดให้พระองค์เองสดับ เมื่อครั้งประชวรหนักอยู่ที่เวฬุวันมหาวิหาร
(ข) ความในมนต์บทนี้มีเพียงว่า องค์แห่งการตรัสรู้นั้นมี 7 อย่าง คือ
(1) สติ (2)ธรรมวิจัย คือการคิดค้นข้อธรรม (3)วิริยะ คือ ความเพียร (4)ปีติ คือ ความอิ่มใจ (5)ปัสสัทธิ คือ ความตั้งใจแน่วแน่ (6)สมาธิ (7)อุเบกขา
ซึ่งนักปราชญ์ได้ทำให้เกิดมีขึ้นมาแล้ว ไม่ได้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บแต่อย่างไร แต่ในพุทธประวัติเมื่อพระพุทธเจ้าทรงสวดให้แก่สาวก หรือให้สาวกสวดแด่พระองค์ก็ทำให้หายป่วยได้
หลัก: ต้องมีผู้สวดให้คนป่วยมิใช่ผู้ป่วยยกข้ธรรมมาตริตรองเองแล้วจะทำให้เกิดผลถึงกับหายเจ็บป่วยได้
ข้อสังเกต: แม้องค์สมเด็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งทรงเลิกล้างความเชื่อศักดิ์สิทธิ์และให้เชื่อในเรื่องกรรม เรื่องเหตุผลก็ยังไม่ละวิธีการที่เรียกว่า "มนต์คาถา" ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่พิจารณาได้ว่า คงมิใช่เรื่องเหลวไหล
วิริยัมปิติ ปัสสัทธิ โพชฌังคา จ ตถา ปเร
สมาธุ เปกขโพชฌังคา สัตเตเต สัพพทัสสินา
มุนิตา สัมมนักขาตา ภาวิตา พหุลีกตา
สํวัตตันติ อภิญญายะ นิพพานายะ จ โพธิยา
หมายเหตุ:(ก) ในพุทธประวัติได้กล่าวไว้ว่าเป็นมนต์ที่พระพุทธเจ้าถือว่าทำให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บได้โดยมีความปรากฏที่เล่าถึงการใช้ถึงสามครั้งดังนี้
1.ทรงสวดประทานให้ พระกัสสป สาวกผู้ใหญ่ที่อาพาธหนัก ณ ถ้า ปิปผลิ ทำให้หายป่วย
2.ทรงสวดประทานแก่ พระโมคคัลลา อัครสาวก ซึ่งอาพาธหนักอยู่ที่เขาคิชฌกูฏ ทำให้หายป่วย
3.ทรงให้พระจุนทะซึ่งเป็นพระสาวกสวดให้พระองค์เองสดับ เมื่อครั้งประชวรหนักอยู่ที่เวฬุวันมหาวิหาร
(ข) ความในมนต์บทนี้มีเพียงว่า องค์แห่งการตรัสรู้นั้นมี 7 อย่าง คือ
(1) สติ (2)ธรรมวิจัย คือการคิดค้นข้อธรรม (3)วิริยะ คือ ความเพียร (4)ปีติ คือ ความอิ่มใจ (5)ปัสสัทธิ คือ ความตั้งใจแน่วแน่ (6)สมาธิ (7)อุเบกขา
ซึ่งนักปราชญ์ได้ทำให้เกิดมีขึ้นมาแล้ว ไม่ได้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บแต่อย่างไร แต่ในพุทธประวัติเมื่อพระพุทธเจ้าทรงสวดให้แก่สาวก หรือให้สาวกสวดแด่พระองค์ก็ทำให้หายป่วยได้
หลัก: ต้องมีผู้สวดให้คนป่วยมิใช่ผู้ป่วยยกข้ธรรมมาตริตรองเองแล้วจะทำให้เกิดผลถึงกับหายเจ็บป่วยได้
ข้อสังเกต: แม้องค์สมเด็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งทรงเลิกล้างความเชื่อศักดิ์สิทธิ์และให้เชื่อในเรื่องกรรม เรื่องเหตุผลก็ยังไม่ละวิธีการที่เรียกว่า "มนต์คาถา" ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่พิจารณาได้ว่า คงมิใช่เรื่องเหลวไหล
สวดให้ปัญญาดี
สัพเพ พุทธา มหาเตชา มหาปัญญา มหัพพลา
เตสาหํ สิรสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตเม
คำแปล: "พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้มีเดชยิ่งใหญ่ มีกำลังยิ่งใหญ่ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระบาทของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า"
หมายเหตุ
1.ความในบทมนต์นี้มีคำที่อ้างถึงปัญญาของพระพุทธเจ้า และนมัสการด้วยเศียรเกล้าซึ่งเป็นการเคารพต่อปัญญา ผลสะท้อนอาจจะมีมาช่วยปัญญาของเราได้
2.เป็นมนต์ใน "อาฎานาฏิยปริต"
เตสาหํ สิรสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตเม
คำแปล: "พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้มีเดชยิ่งใหญ่ มีกำลังยิ่งใหญ่ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระบาทของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า"
หมายเหตุ
1.ความในบทมนต์นี้มีคำที่อ้างถึงปัญญาของพระพุทธเจ้า และนมัสการด้วยเศียรเกล้าซึ่งเป็นการเคารพต่อปัญญา ผลสะท้อนอาจจะมีมาช่วยปัญญาของเราได้
2.เป็นมนต์ใน "อาฎานาฏิยปริต"
โมรปริต ... คาถาคุ้มกันอันตราย
อุเทตะยันจักขุมา
เอกราชา หริสวัณโณ ปฐวิปปภาโส ตํ ตํ
นมัสสามิ หริสสวัณณํ ปฐวิปปภาสํ
ตยัชชะ คุตตา วิหเรมุ ทวิสํ
เย พราหมณา เวทคุสัพพธัมเม
เต เม นโม เต จ มํ ปาลยันตุ
นมัตถุ พุทธานํ นมัตถุ โพธิยา
นโม วิมุตตานํ นโม วิมุตติยา
คำแปล:
"พระอาทิตย์เป็นดวงตาของโลก เป็นพระราชาองค์เอก มีสีดังสีทอง ทำพื้นดินให้สว่าง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์ ซึ่งมีสีดังทอง และทำให้พื้นดินให้สว่างนั้น เพราะว่าท่านได้ปกครองให้ข้าพเจ้าอยู่เป็นสุขในวันนี้ตลอดวัน"
"พราหมณ์ทั้งหลาย ผู้รู้เวทในธรรมทั้งปวง จงได้รับความนอบน้อมของข้าพเจ้า และขอให้พราหมณ์เหล่านั้นจงรักษาข้าพเจ้า"
"ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอนอบน้อมพระโพธิญาณ ขอนมัสการท่านผู้หลุดพ้นแล้ว และขอนอบน้อมความหลุดพ้น(จากกรรมชั่ว)นั้นด้วย"
หมายเหตุ: เป็นบทที่ใช้สวดก่อนออกไปทำงานตอนเช้า
เอกราชา หริสวัณโณ ปฐวิปปภาโส ตํ ตํ
นมัสสามิ หริสสวัณณํ ปฐวิปปภาสํ
ตยัชชะ คุตตา วิหเรมุ ทวิสํ
เย พราหมณา เวทคุสัพพธัมเม
เต เม นโม เต จ มํ ปาลยันตุ
นมัตถุ พุทธานํ นมัตถุ โพธิยา
นโม วิมุตตานํ นโม วิมุตติยา
คำแปล:
"พระอาทิตย์เป็นดวงตาของโลก เป็นพระราชาองค์เอก มีสีดังสีทอง ทำพื้นดินให้สว่าง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์ ซึ่งมีสีดังทอง และทำให้พื้นดินให้สว่างนั้น เพราะว่าท่านได้ปกครองให้ข้าพเจ้าอยู่เป็นสุขในวันนี้ตลอดวัน"
"พราหมณ์ทั้งหลาย ผู้รู้เวทในธรรมทั้งปวง จงได้รับความนอบน้อมของข้าพเจ้า และขอให้พราหมณ์เหล่านั้นจงรักษาข้าพเจ้า"
"ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอนอบน้อมพระโพธิญาณ ขอนมัสการท่านผู้หลุดพ้นแล้ว และขอนอบน้อมความหลุดพ้น(จากกรรมชั่ว)นั้นด้วย"
หมายเหตุ: เป็นบทที่ใช้สวดก่อนออกไปทำงานตอนเช้า
คาถาสวดก่อนเข้านอน
อะเปตะยันจักขุมา
เอกราชา หริสวัณโณ ปฐวิปปภาโส ตํ ตํ
นมัสสามิ หริสสวัณณํ ปฐวิปปภาสํ
ยตัชชะ คุตตา วิหเรมุ รัตตึ (อ่าน รัตติง)
เย พราหมณา เวทคุสัพพธัมเม
เต เม นโม เต จ มํ ปาลยันตุ
นมัตถุ พุทธานํ นมัตถุ โพธิยา
นโม วิมุตตานํ นโม วิมุตติยา
หมายเหตุ
1. คาถานี้เป็นคาถาคุ้มกันอันตราย และมีอยู่ในนิทาชาดกใจความว่า " มีนกยูงที่งามสง่ายิ่งตัวหนึ่ง นายพรานพยายามตามจับมาช้านานแต่ไม่อาจดักจับได้ เนื่องจากนกยูงตัวนั้นก่อนออกจากรังก็สวดมนต์ เวลากลับเข้ารังก็สวดมนต์ ตลอดเวลาที่สวดมนต์อยู่นี้นายพรานจะทำความพยายามสักเพียงไรก็ไม่สามารถจะดักได้ แต่มาวันหนึ่งลืมสวดมนต์ เลยถูกดัก และนายพรานจับได้"
2. มนต์บทนี้ได้รวมเอาลัทธิความเชื่อทุก ๆ อย่างไว้ด้วยกัน เริ่มตั้งแต่การนอบน้อมบูชาดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นความเชื่อเก่าแก่ของอินเดียดึกดำบรรพ์ และความเชื่อในลัทธิพราหมณ์ รวมทั้งความเชื่อ ความเลื่อมใสในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งผู้ผูกมนต์ได้รวบรวมของดีทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่จะหามาได้ มาประมวลไว้ในมนต์บทเดียวกัน
เอกราชา หริสวัณโณ ปฐวิปปภาโส ตํ ตํ
นมัสสามิ หริสสวัณณํ ปฐวิปปภาสํ
ยตัชชะ คุตตา วิหเรมุ รัตตึ (อ่าน รัตติง)
เย พราหมณา เวทคุสัพพธัมเม
เต เม นโม เต จ มํ ปาลยันตุ
นมัตถุ พุทธานํ นมัตถุ โพธิยา
นโม วิมุตตานํ นโม วิมุตติยา
หมายเหตุ
1. คาถานี้เป็นคาถาคุ้มกันอันตราย และมีอยู่ในนิทาชาดกใจความว่า " มีนกยูงที่งามสง่ายิ่งตัวหนึ่ง นายพรานพยายามตามจับมาช้านานแต่ไม่อาจดักจับได้ เนื่องจากนกยูงตัวนั้นก่อนออกจากรังก็สวดมนต์ เวลากลับเข้ารังก็สวดมนต์ ตลอดเวลาที่สวดมนต์อยู่นี้นายพรานจะทำความพยายามสักเพียงไรก็ไม่สามารถจะดักได้ แต่มาวันหนึ่งลืมสวดมนต์ เลยถูกดัก และนายพรานจับได้"
2. มนต์บทนี้ได้รวมเอาลัทธิความเชื่อทุก ๆ อย่างไว้ด้วยกัน เริ่มตั้งแต่การนอบน้อมบูชาดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นความเชื่อเก่าแก่ของอินเดียดึกดำบรรพ์ และความเชื่อในลัทธิพราหมณ์ รวมทั้งความเชื่อ ความเลื่อมใสในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งผู้ผูกมนต์ได้รวบรวมของดีทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่จะหามาได้ มาประมวลไว้ในมนต์บทเดียวกัน
คาถามหาลาภ
***ใช้สวดภาวนาก่อนนอน 3 จบ และตื่นเช้า 3 จบ เป็นการเรียกทรัพย์ เรียกลาภ
นะมะมีมา มหาลาภา อิติพุทธัสสะ สุวัณณังวา ระชะตังวา มณีวา ธนัง วา พีชัง วา
อัตถัง วา ปัตถัง วา เอหิ เอหิ อาคัจเฉยยะ อิติมีมา นะมามิหัง
นะมะมีมา มหาลาภา อิติพุทธัสสะ สุวัณณังวา ระชะตังวา มณีวา ธนัง วา พีชัง วา
อัตถัง วา ปัตถัง วา เอหิ เอหิ อาคัจเฉยยะ อิติมีมา นะมามิหัง
มนต์เมื่อตกในภาวะต้องคดี หรือคับขัน
นโม เต พุทธวีรัตถุ วิปปมุตโตสิ สัพพธิ
สัมพาธปฏิปันโนสมิ ตัสสะ เม สรณํ ภวะ
คำแปล: ข้าพเจ้าขอนมัสการองค์พระพุทธเจ้า ผู้กล้าหาญ และพ้นแล้วจากกิเลสทั้งปวง บัดนี้ข้าพเจ้าตกอยู่ในความคับขัน ขอพระองค์จงเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า
หมายเหตุ:
1. เป็นมนต์ที่ดียิ่งในแง่ถ้อยคำ และหลักไวยกรณ์
2. ใช้ในยามคับขันที่ไม่รู้จะทำประการใดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวลาต้องคดีถูกจับกุมคุมขัง ขออานุภาพของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นผู้กล้าหาญ และวิมุตติหลุดจากทุกสิ่งทุกอย่างแล้วมาเป็นที่พึ่ง
3. คาถานี้อยู่ในจันทปริต และสุริยปริต
สัมพาธปฏิปันโนสมิ ตัสสะ เม สรณํ ภวะ
คำแปล: ข้าพเจ้าขอนมัสการองค์พระพุทธเจ้า ผู้กล้าหาญ และพ้นแล้วจากกิเลสทั้งปวง บัดนี้ข้าพเจ้าตกอยู่ในความคับขัน ขอพระองค์จงเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า
หมายเหตุ:
1. เป็นมนต์ที่ดียิ่งในแง่ถ้อยคำ และหลักไวยกรณ์
2. ใช้ในยามคับขันที่ไม่รู้จะทำประการใดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวลาต้องคดีถูกจับกุมคุมขัง ขออานุภาพของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นผู้กล้าหาญ และวิมุตติหลุดจากทุกสิ่งทุกอย่างแล้วมาเป็นที่พึ่ง
3. คาถานี้อยู่ในจันทปริต และสุริยปริต
คาถากันไฟไหม้
อัตถิ โลเก สีลคุโณ สัจจํ โสเจยยะนุททะยา
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมนุตตรํ
อาวัชชิตวา ธัมมะพลํ สริตวา ปุพพะเก ชิเน
สัจจะพละมวัสสายะ สัจจะกิริยามกาสหํ
สันติ ปักขา อปัตตนา สันติ ปาทา อวัญจนา
มาตา ปิตา จ นิกขันตา ชาตเวทะ ปฏิกกมะ
คำแปล "ศีลเป็นของมีคุณอยู่ในโลก ความสัตย์ ความบริสุทธิ์ และความเอ็นดู ปรานีซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในโลก ข้าพเจ้าเป็นผู้ถือความสัตย์ ข้าพเจ้าระลึกถึงกำลังอานุภาพของพระธรรม และระลึกถึงพระเป็นเจ้าผู้ชนะแล้วทั้งหลายด้วยกำลังแห่งความสัตย์ ข้าเจ้าจึงขอทำความสัตย์ ด้วยปีกของข้ามีอยู่ก็จริงแต่บินไม่ได้ เท้าของข้ามีแต่ยังเดินไม่ได้ พ่อแม่ของข้าก็หายออกไปหาอาหารข้างนอก ขอให้ไฟป่าจงออกไปห่างจากข้าพเจ้าเถิด
หมายเหตุ:
เป็นเรื่องในวัฎฎกปิฎกปริต ที่พระพุทธเจ้าเล่าให้พระสารีบุตรฟังว่า นกคุ่มตัวหนึ่งเพิ่งออกจากไข่ได้ไม่นานนัก ขนที่ปีกยังไม่แข็งแรงพอที่จะบินได้ นกพ่อแม่ไม่อยู่ ออกไปหากิน อยู่ทางนี้ไฟไหม้ป่าซึ่งไม่มีทางที่ลูกนกคุ่มตัวนั้นจะรอดได้ ลูกนกคุ่มได้กล่าวมนต์ดังกล่าวนั้นแล้วไฟป่าก็หยุดอยู่ห่างจากรังนกนั้นมาก ไม่ไหม้ลามมาถึงรังนกคุ่ม ลูกนกคุ่มตัวนั้นก็พ้นอันตราย
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมนุตตรํ
อาวัชชิตวา ธัมมะพลํ สริตวา ปุพพะเก ชิเน
สัจจะพละมวัสสายะ สัจจะกิริยามกาสหํ
สันติ ปักขา อปัตตนา สันติ ปาทา อวัญจนา
มาตา ปิตา จ นิกขันตา ชาตเวทะ ปฏิกกมะ
คำแปล "ศีลเป็นของมีคุณอยู่ในโลก ความสัตย์ ความบริสุทธิ์ และความเอ็นดู ปรานีซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในโลก ข้าพเจ้าเป็นผู้ถือความสัตย์ ข้าพเจ้าระลึกถึงกำลังอานุภาพของพระธรรม และระลึกถึงพระเป็นเจ้าผู้ชนะแล้วทั้งหลายด้วยกำลังแห่งความสัตย์ ข้าเจ้าจึงขอทำความสัตย์ ด้วยปีกของข้ามีอยู่ก็จริงแต่บินไม่ได้ เท้าของข้ามีแต่ยังเดินไม่ได้ พ่อแม่ของข้าก็หายออกไปหาอาหารข้างนอก ขอให้ไฟป่าจงออกไปห่างจากข้าพเจ้าเถิด
หมายเหตุ:
เป็นเรื่องในวัฎฎกปิฎกปริต ที่พระพุทธเจ้าเล่าให้พระสารีบุตรฟังว่า นกคุ่มตัวหนึ่งเพิ่งออกจากไข่ได้ไม่นานนัก ขนที่ปีกยังไม่แข็งแรงพอที่จะบินได้ นกพ่อแม่ไม่อยู่ ออกไปหากิน อยู่ทางนี้ไฟไหม้ป่าซึ่งไม่มีทางที่ลูกนกคุ่มตัวนั้นจะรอดได้ ลูกนกคุ่มได้กล่าวมนต์ดังกล่าวนั้นแล้วไฟป่าก็หยุดอยู่ห่างจากรังนกนั้นมาก ไม่ไหม้ลามมาถึงรังนกคุ่ม ลูกนกคุ่มตัวนั้นก็พ้นอันตราย
มนต์คลอดบุตรง่าย
ยโตหํ ภคินี อริยายะ ชาติยา ชาโต
นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณํ ชีวิตา โวโรเปตา
เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ
คำแปล: "น้องหญิง เราได้เกิดใหม่ในชาติอริยะแล้ว ไม่จงใจที่จะปลงชีวิตใครอีกต่อไป ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความเจริญจงมีแก่เธอ และขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภ์ของเธอด้วย"
หมายเหตุ:
1.ทางพระเรียกธรรมะขององคลีมาลที่กล่าวดังนี้ว่า องคุลีมาลปริต
2.ในทางเวทมนต์แล้วถือว่าเป็นมนต์ที่ดีที่สุดในการทำน้ำมนต์ให้คลอดบุตรง่าย แต่ต้องเป็นนำมนต์ที่คนอื่นทำ ไม่ใช่มนต์ที่ผู้คลอดจะสวดภาวนาเอง
นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณํ ชีวิตา โวโรเปตา
เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ
คำแปล: "น้องหญิง เราได้เกิดใหม่ในชาติอริยะแล้ว ไม่จงใจที่จะปลงชีวิตใครอีกต่อไป ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความเจริญจงมีแก่เธอ และขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภ์ของเธอด้วย"
หมายเหตุ:
1.ทางพระเรียกธรรมะขององคลีมาลที่กล่าวดังนี้ว่า องคุลีมาลปริต
2.ในทางเวทมนต์แล้วถือว่าเป็นมนต์ที่ดีที่สุดในการทำน้ำมนต์ให้คลอดบุตรง่าย แต่ต้องเป็นนำมนต์ที่คนอื่นทำ ไม่ใช่มนต์ที่ผู้คลอดจะสวดภาวนาเอง
วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
มนตรวาทะ
คาถานี้ใช้เมื่อกล่าวกับคนหมู่มาก
สัพเพ พุทธา อสมะสมา
สัพเพ พุทธา มหิทธิกา
สัพเพ ทสพลูเปตา
เวสารัชเชตุปาคตา
สีหะนาทํ นทันเต
เต ปริสาสุ วิสารทา
คำแปล: พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ที่ไม่มีใครเสมอเหมือน พระพุทธเจ้าทั้งหลายที่มีฤทธิ์ยิ่งใหญ่ ผู้มีกำลังครบถ้วนสิบประการ ผู้มีญานที่ทำให้กล้าหาญ เป็นผู้องอาจไม่ครั่นคร้าม บันลือสีหนาทอยู่ในหมู่คนทั้งหลาย
หมายเหตุ
1. ตัดมาจาก อาฏานาติยปริต
2. เป็นมนต์ที่ใช้ในวลาที่ต้องพูดกับคนหมู่มาก เช่น แสดงปาฐกถา กล่าวสุนทรพจน์ หรือแถลงคารมอย่างใดอย่างหนึ่ง
3. มนต์นี้ในทางประวัตินั้นเป็นคำนำข้อความที่กล่าวถึงตอนที่พระพุทธเจ้าประกาศพุทธศาสนาซึ่งเหมาะสมสำหรับจะใช้แสดงปฐกถา กรือกล่าสุนทรพจน์
สัพเพ พุทธา อสมะสมา
สัพเพ พุทธา มหิทธิกา
สัพเพ ทสพลูเปตา
เวสารัชเชตุปาคตา
สีหะนาทํ นทันเต
เต ปริสาสุ วิสารทา
คำแปล: พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ที่ไม่มีใครเสมอเหมือน พระพุทธเจ้าทั้งหลายที่มีฤทธิ์ยิ่งใหญ่ ผู้มีกำลังครบถ้วนสิบประการ ผู้มีญานที่ทำให้กล้าหาญ เป็นผู้องอาจไม่ครั่นคร้าม บันลือสีหนาทอยู่ในหมู่คนทั้งหลาย
หมายเหตุ
1. ตัดมาจาก อาฏานาติยปริต
2. เป็นมนต์ที่ใช้ในวลาที่ต้องพูดกับคนหมู่มาก เช่น แสดงปาฐกถา กล่าวสุนทรพจน์ หรือแถลงคารมอย่างใดอย่างหนึ่ง
3. มนต์นี้ในทางประวัตินั้นเป็นคำนำข้อความที่กล่าวถึงตอนที่พระพุทธเจ้าประกาศพุทธศาสนาซึ่งเหมาะสมสำหรับจะใช้แสดงปฐกถา กรือกล่าสุนทรพจน์
อภัยปริต
ทุกขัปปัตตา จ นิททุกขา ภยัปปัตตา จ นิพภยา
โสกัปปัตตา จ นิสโสกา โหตุ สพเพปิ ปาณิโน
แปลความ : ขอให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่กำลังมีทุกข์ จงพ้นทักข์ ที่กำลังมีภัย จงพ้นภัย ที่กำลังมีโศก จงพ้นโศก
หมายเหตุ :1. เป็นมนต์คาถาทางพุทธ หรือที่เรียกว่าพระพุทธมนต์ "อภัยปริต" ได้รับยกย่องว่าเป็นมนต์สูงสุดและศักดิ์สิทธิ์ที่สุด ดังที่ในบาลีเองก็มีคำสรรเสริญมนต์บทนี้ว่า "ปุญญลาภํ วัณณกิตติมหายะสํ"
2. เป็นมนต์ที่ทำให้มบุญวาสนา มีอำนาจยิ่งใหญ่ มีผิวพรรณผุดผ่อง มีชื่อเสียงและมียศใหญ่หลวง
โสกัปปัตตา จ นิสโสกา โหตุ สพเพปิ ปาณิโน
แปลความ : ขอให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่กำลังมีทุกข์ จงพ้นทักข์ ที่กำลังมีภัย จงพ้นภัย ที่กำลังมีโศก จงพ้นโศก
หมายเหตุ :1. เป็นมนต์คาถาทางพุทธ หรือที่เรียกว่าพระพุทธมนต์ "อภัยปริต" ได้รับยกย่องว่าเป็นมนต์สูงสุดและศักดิ์สิทธิ์ที่สุด ดังที่ในบาลีเองก็มีคำสรรเสริญมนต์บทนี้ว่า "ปุญญลาภํ วัณณกิตติมหายะสํ"
2. เป็นมนต์ที่ทำให้มบุญวาสนา มีอำนาจยิ่งใหญ่ มีผิวพรรณผุดผ่อง มีชื่อเสียงและมียศใหญ่หลวง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)